directions_run

(12)โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดชุมพร


“ (12)โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน ”

ตำบลหาดพันไกร

หัวหน้าโครงการ
นายไตรสิทธิ์ นามสกุล ศรีช่วงโชติวัตร

ชื่อโครงการ (12)โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน

ที่อยู่ ตำบลหาดพันไกร จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 65-00240-0012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"(12)โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน จังหวัดภาคใต้" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดพันไกร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดชุมพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
(12)โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " (12)โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดพันไกร รหัสโครงการ 65-00240-0012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดชุมพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านเขากล้วย (กลุ่มวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร) หมู่ 10 ตั้งอยู่ตำบลหาดพันไกร อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร
ห่างจากตัวเมืองชุมพร ระยะทาง 20 กิโลเมตร ติดถนนเพชรเกษม เนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 24,057.87 ไร่ หรือประมาณ 38.49 ตารางกิโลเมตร รวมทั้ง ตำบล มีจำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 12 หมู่บ้าน ประชากรทั้งตำบลรวมทั้งสิ้น 5,446 คน แยกเป็นชาย 2,614 คน หญิง 2,784 คน จำนวนครัวเรือน 2,017 ครัวเรือน ความหนาแน่น 69.25 ตารางกิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ค้าขาย รับจ้างทั่วไป   บ้านเขากล้วย หมู่ที่ 10 มีประชากรทั้งหมด 445 ราย จำนวนครัวเรือน 250 ครัวเรือน อยู่อาศัยจริง จำนวน 122 ครัวเรือน ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ทางทิศตะวันตกเป็นแนวเทือกเขาตะนาวศรี สภาพพื้นพื้นที่เป็นที่ราบเชิงภูเขา ลักษณะเป็นลูกคลื่น ลอน ลาด สลับกันไป และพื้นที่ด้านตะวันออกเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำท่าตะเภาบางพื้นที่มีน้ำท่วมขังเป็นประจำทุกปี ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร รับจ้างทั้งไป ในอดีตประชาชน ทำการเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกมะพร้าว และปลูกผักขาย เช่น มะเขือ ถั่วฝักยาว แตงกวา และประชากรยังมีไม่มาก ประกอบกับมีแม่ค้ารับซื้อถึงบ้าน ทำให้ชาวบ้าน ประชากรยังดำรงชีพ ด้วยการปลูกผักกินเองและเป็นผักปลอดสารพิษ แต่หลังจาก ปี 2532 เกิดเหตุการณ์ พายุหนักประกอบกับ ราคาของพืชผักตกต่ำเนื่องจากมีการนำเข้าผักมาขายจากที่อื่นและราคาถูกกว่า จึงทำให้แม่ค้า หันไปรับผักที่มาจากแหล่งอื่นแทน จึงทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่ล้มเลิกการปลูกผัก เพื่อหันมาปลูกพืชเชิงเดี่ยวเช่น ยางพารา ทุเรียน และปาล์มน้ำมัน แทน เนื่องจากการปลูกผักจำหน่าย ไม่สามารถสู้ราคา กับผักที่มาจากแหล่งภายนอกและแม่ค้ากดราคาทำให้แปลงผักหายไป ที่มีอยู่ก็หันมาใช้ สารเคมีในการทำเนื่องจากคิดว่าน่าจะให้ผลผลิตดีกว่าการใช้สารอินทรีย์ และ ไม่ได้สนใจการปลูกผักเท่าที่ควรเนื่องจากราคาสินค้าเกษตรตัวอื่นให้ราคาที่ดีกว่า จนถึงปี พ.ศ. 2562 ได้เกิดการจัดตั้งสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดชุมพร โดยการนำของคุณไสว แสงสว่าง ประธานสมาพันธ์ และมีการอบรมให้ความรู้เรื่องการทำเกษตรปลอดภัย โดยมีผู้สนใจเข้าร่วมทุกอำเภอของจังหวัดชุมพร หนึ่งในนั้นก็คือ คณะกรรมการ วิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร ประกอบด้วย คุณ ไตรสิทธิ์ คุณชูเกียรติ คุณภูมเดชา เมื่อได้รับการอบรม และมีการร่วมกลุ่มทำกิจกรรมบ่อย ๆ ทำให้ทั้ง 3 ท่าน เห็นพ้องกันว่า ต้องการที่จะฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนและผู้บริโภคให้ได้รับประทานผักปลอดสาร โดยมีกลุ่มต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายในเรื่องเกษตร แต่มีเป้าหมายเรื่องการทำเกษตรปลอดสารเหมือนกัน และทางคณะกรรมการเล็งเห็นว่า ในปัจจุบัน ประชากรส่วนใหญ่รักสุขภาพ และมีความสนใจเรื่องเกษตรปลอดสารมากขึ้น ข้อมูลจากการที่นำผักปลอดสารไปวางจำหน่ายที่หน้าสำนักงานเกษตรอำเภอเมืองทุกวันพฤหัสบดี ของทุกสับดาห์ ผักปลอดสารจะขายหมดทุกรอบและไม่พอขาย ประกอบกับเกิดโรคระบาดหนัก ทำให้ตลาดผักอินทรีย์ต้องปิดตัวลง ทำให้เกษตรกรที่ปลูกก็ต้องชะลอตัวทำได้เพียงปลูกเพื่อทานในครัวเรือนและแจกจ่ายเพื่อนผูงได้ทาน ประกอบกับ คุณไตรสิทธิ์ประธานกลุ่ม มีความตั้งใจที่จะรื้อฟ้นให้คนในชุมชนหันกลับมา ทำสินค้าเกษตรแบบปลอดสาร และหาตลาดเพื่อรองรับสินค้าของสมาชิกและของชุมชน เพราะในอดีตคนในชุมชนเคยผลิดพืชผักเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว แต่มีปัญหาเรื่องการตลาด ทำให้ชุมชนต้องเลิกปลูกผักเพื่อจำหน่าย หันมาปลูกเพื่อบริโภคเพียงอย่างเดียว จึงได้พูดคุยกับสมาชิกที่อยู่ในกลุ่มชักชวนกันตั้งกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร จึงรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตรเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 โดยมีสมาชิกที่เข้าร่วมทั้งสิ้น 32 ราย มีการลงหุ้น มีเงินหมุนเวียน 80,000 บาท โดยมีแปลงเพื่อผลิตสินค้าปลอดภัยที่เข้าร่วม จำนวน 35 แปลง โดยมีสมาชิกที่มีความหลากหลาย ทั้ง กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนเลี้ยงวัว กลุ่มน้ำมันมะพร้าว กลุ่มกาแฟ กลุ่มผักปลอดสารพิษ กลุ่มนักธุรกิจ กลุ่มทำสมุนไหร และกลุ่มทำผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ และในปัจจุบันได้มีสินค้าออกมาวางจำหน่ายนอกจาก ผักปลอดสารแล้ว ก็มีกาแฟปลอดสารและชา โดยได้รับการตอบรับที่ดี โดยวัตถุดิบส่วนใหญ่ รับจากสมาชิกในกลุ่มแต่ละพื้นที่ เนื่องจากในชุมชน มีผลผลิตไม่เพียงพอ
และทางกลุ่มคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตรได้เข้าร่วม อบรมโครงการพัฒนาผู้ประกอบการกับทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตชุมพรโดยได้นำ กาแฟซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของทางกลุ่มวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตรเข้าร่วมในการอบรม และเป็นสินค้า 1 ใน 5 ชนิด ที่ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คัดเลือกเพื่อเข้าร่วมการยกระดับเพื่อขอขึ้นทะเบียน เป็นสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) พร้อมกับได้รับการสนับสนุนเครื่องคั่วกาแฟ เครื่องอบกาแฟ จากสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร จำนวน 1 ชุด เพื่อการพัฒนากาแฟให้มีคุณภาพ
โดยมีร้านจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ วิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร บ้านเขากล้วย หมู่ที่ 10 เข้าซอยไปประมาณ 400 กิโลเมตร ถนนเพชรเกษม ฝั่งขึ้น กทม. มีรายได้เดือนละ 10,000-20,000 บาท จากการประเมินผลของกลุ่มฯ พบว่า ผักปลอดสารยังเป็นที่ต้องการของลูกค้า และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนยังได้รับการช่วยเหลือจาก เกษตรอำเภอเมืองและนายกองค์การบริหารตำบลหาดพันไกร ในการช่วยอำนวยความสะดวก และออกบูทในงานต่าง ๆ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ รู้จักวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร เมื่อได้ดำเนินงานมาสักระยะหนึ่ง ได้รับการตอบรับจากกลุ่มลูกค้าเป็นอย่างดี มียอดการสั่งซื้อ จากหลายพื้นที่ ประกอบกับทางประธานและคณะกรรมการต้องการที่จะพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ตัวอื่นด้วย เช่น พืชผักปลอดสารพิษ เนื่องจากทุกบ้าน ต้องรับประทานและตลาดมีความต้องการมากขึ้นและได้สร้างอาชีพและรายได้ให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาด ได้มีอาชีพเสริม และมีรายได้เพิ่มให้กับครัวเรือนและได้ไช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และได้ลดการใช้สารเคมีในชุมชน และการลงทุนในกิจการใช้ทุนหุ้นสมาชิกและของครัวเรือนเป็นหลักในการบริหารงานจัดการ ประกอบกับ ในอดีตต่างคนต่างทำ ไม่มีการรวมกลุ่มเมื่อมีผลผลิตจึงต่างคนต่างขายและถูกกดราคา จากพ่อค้าแม่ค้าคนกลาง จึงจำเป็นต้องขายให้ในราคาที่ขาดทุนเนื่องจากต้นทุนการผลิตที่ต้องใช้สารเคมีในแปลงเกษตร แต่ถ้ามีการรวมตัวกันปลูกและมีแหล่งรับซื้อที่แน่นอน ก็สามารถที่จะขายได้ราคา และในปัจจุปันความต้องการพืชผักปลอดสารมีความต้องการเพิ่มมากขึ้น จึงต้องการขยายสมาชิกแปลงผลิตพืชผักปลอดสารเพิ่มขึ้นจากที่มีอยู่ เพื่อทำให้มีพืชผักปลอดสารที่เพียงพอต่อการผลิตและความต้องการของผู้บริโภค และมีตลาดรับซื้อที่แน่นอนและยั่งยืน
จากการประชุมปรึกษาหารือของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร บ้านเขากล้วย ในการจัดทำ โครงการครั้งนี้ได้มีการทำการวิเคราะห์ปัญหา ต้นไม้ปัญหา นำปัญหาที่ได้มาจัดลำดับความสำคัญของปัญหา พบปัญหาสำคัญเร่งด่วนคือ ขาดการส่งเสริมการปลูกพืชผักปลอดสารแบบเป็นระบบและไม่มีตลาดรองรับที่เหมาะสม ด้วยปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ได้ดังนี้
ด้านพฤติกรรม 1.ชาวบ้านต่างคนต่างอยู่ ไม่มีการรวมกลุ่มอย่างชัดเจนเปลี่ยนแปลงจากอดีตที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน 2. หาเช้ากินค่ำไม่มีเงินออม 3. ไม่นิยมแปรรูปสินค้าและไม่มีการรวมกลุ่ม 4.นิยมใช้สารเคมีเพราะคิดว่าสะดวกและตามเพื่อน 5.ชอบซื้ออาหารสำเร็จรูปทานเพราะสะดวก 6.ขาดความรู้เรื่องการผลิตทำตามเพื่อน7.มีพื้นข้างบ้านแต่ไม่ปลูก ซื้อทาน ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม 1.เป็นสังคมเมืองกึ่งชนบทต่างคนต่างอยู่ 2.มีความสะดวกสบายมากขึ้น 4.ชุมชนยังไม่มีส่วนร่วม 5.การเดินทางเข้าถึงง่ายมีความสะดวก 6. มีความหลากหลายทางชีวภาพ 7.มีรถพุ่มพวงเข้าถึง 8. ในกลุ่มยังติดการใช้สารเคมีในแปลงเกษตรเพราะคิดว่าจะทำให้ได้ผลผลิตที่ได้มากว่าการไม่ใข้สารเคมี ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ขาดอุปกรณ์ในการแปรรูป เช่น ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ 2.ไม่นิยมทำบัญชีผลผลิตและบัญชีครัวเรือน ทำให้ไม่รู้รายจ่ายและรายได้ที่แท้จริง 3.ไม่มีผู้นำทำกิจกรรมที่เป็นรูปแบบ 4.ปริมาณทุนหมุนเวียนในกลุ่มวิสาหกิจไม่เพียงพอ 5. มีสารเคมีปนเปื้อนในผลผลิตในส่วนที่ควบคุมไม่ได้ ด้านกลไก/ระบบที่เกี่ยวข้อง 1. ยังไม่มีหน่วยงานในชุมชนที่หนุนเสริมอย่างจริงจัง2. ขาดการบริหารจัดการที่ดี3. ไม่เข้าถึงแหล่งบประมาณเพราะชุมชนยังขาดความรู้ 4. ขาดการทำแผนธุรกิจและการขยายตลาด 5.ชาวบ้านและกลุ่มวิสาหกิจดำเนินการกันเอง 6 การจัดทำแผนธุรกิจ/เพื่อขยายการผลิต ต้องมีการทำแผนธุรกิจเพื่อขอทุนจากแหล่งทุนอื่น ผลกระทบของปัญหาข้างต้นต่อมวลสมาชิกกลุ่มและชาวบ้านเขากล้วย โดยสรุปคือ ด้านสุขภาพ 1.ชาวบ้านมีโรคประจำตัวสาเหตุจากการทานของปนเปื้อน 2.มีสารพิษตกค้างในร่างกาย ด้านสังคม 1.ขาดการมีส่วนร่วมเนื่องด้วยจากสภาพสังคมที่เร่งด่วน 2.ต่างคนต่างทำกิจกรรมไม่รวมกลุ่มกัน3.แต่มีกลุ่มผู้สูงอายุที่เข้มแข็งสามารถเป็นกลุ่มหลักได้ 4.มีการประชุมหมู่บ้านประจำทุกเดือนเดือนสม่ำเสมอ ด้านเศรษฐกิจ 1.ชาวบ้าน มีรายได้เพิ่มมากขึ้น2.มีรายได้ทุกวัน 3.หนี้สินครัวเรือน 4.ค่าใช้จ่ายเพิ่มจากค่ารักษาพยาบาล ด้านสภาพแวดล้อม 1.มีความหลากหลายในพื้นที่ ทางธรรมชาติ 2.สารเคมีปนเบื้อนลงแหล่งน้ำ3.อากาศดี 4.เป็นดินเสื่อมสภาพทำให้ไม่สามารถทำการเกษตรได้ 5.เป็นดินทรายแห้ง น้ำน้อย ปลูกพืชบางชนิดไม่ได้ 1.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาที่จะเสนอในโครงการนี้ ควรใช้ทุนเดิม จุดแข็งที่มี มาช่วยหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการคือ
การสนับสนุนและส่งเสริมให้แปลงปลูกพืชผักที่มีอยู่แล้วเป็นแปลงปลอดสาร และเข้าเป็นสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร เนื่องจากยังขาดความรู้ความเข้าใจในการผลิตพืชผักแบบปลอดสาร ให้มีความเข้าใจในการทำแปลงแบบปลอดสารและการใช้สารชีวภัณฑ์ให้ได้ประสิทธิภาพ และการจัดการเรื่องการตลาดการจำหน่ายผลิตภัณฑ์แบบยั่งยืนมากขึ้น แรงเสริมในการดำเนินงาน มีผู้นำในกลุ่มเข้มแข็ง 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การสนับสนุน 3. สำนักงานเกษตรจังหวัดสนับสนุนเรื่องการหาพื้นที่ขายผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ 4 มีผู้สนใจเข้าร่วมถือหุ้นจากภายนอกมากกว่าในชุมชน 5 มีการสนับสนุนจากผู้นำชุมชน 6. มีภาคีเครือข่ายภาครัฐสนับสนุน แรงต้านในการดำเนินงาน 1.ชาวบ้านขาดการมีส่วนร่วมกับชุมชน ขาดแรงจูงใจ 2.ยังมีการเสพติดการใช้สารเคมีในแปลงเกษตร 3.ต้นทุนการผลิตยังสูง เนื่องจากขาด เครื่องมือ อุปกรณ์ และแรงงาน และชอบใช้สารเคมีมากกว่าอินทรีย์ 4. ไม่มีกลุ่มผู้ผลิต ปุ๋ยอินทรีย์ สารชีวภัณฑ์ รองรับในชุมชน 5. ผู้นำขาดการเอาใจใส่ 6. ขาดความรู้ที่ถูกต้องในการปลูกผักแบบปลอดสารและการใช้สารชีวภัณฑ์ที่ถูกวิธี คณะกรรมการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร สมาชิกทั้ง 32 รายและสมาชิกในหมู่บ้านเขากล้วย มีความประสงค์ที่จะขอรับทุนสนับสนุนจาก Node flagship Chumphon สสส.สน 6 จึงได้สมัครใจเข้าร่วมดำเนินงานเกษตรสุขภาพ ภายใต้ โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน 1.3 แสดงให้เห็นว่าการดำเนินงานโครงการจะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการสร้างเสริมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างไร) มีแนวทางสำคัญพัฒนาองค์กรวิสาหกิจชุมชนให้มีความสามารถในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะมีฐานข้อมูลสารสนเทศและมีแผนธุรกิจชุมชน ขยายจำนวนสมาชิกผู้ปลูกกาแฟ/พืชผักปลอดสาร พร้อมกับการเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชผักปลอดสารบ้านเขากล้วย ด้วยรูปแบบการการเรียนรู้ พัฒนาร่วมกัน จัดตั้งครัวเรือนต้นแบบเพื่อให้เป็นแบบอย่างในการผลิตกาแฟและผักปลอดสารพิษ ตรวจรับรองมาตรฐานสินค้าการเกษตร SDGsPGS และใช้แผนธุรกิจชุมชน ประสานงบประมาณจากหน่วยงานภายนอก เกษตร ธกส. เพื่อให้มีเงินทุนในการพัฒนาและขยายกิจการ เพิ่มปริมาณการผลิตให้เพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภค การเข้าร่วมเครือข่ายเกษตรสุขภาพ ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขยายกลุ่มเป้าหมายสร้างตลาดสินค้าเกษตรปลอดสารให้เป็นที่รู้จักและสร้างความมั่นใจให้กับกลุ่มลูกค้า ควบคู่กับพัฒนารูปแบบการตลาดและการขยายการผลิตสินค้าให้มีหลากหลายผลิตภัณฑ์ ผสมผสานกับกาแฟที่จะได้รับขึ้นทะเบียน เป็น “สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์”(GI) ต่อไป.

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาวิสาหิจชุมชนวรรณะเกษตรให้มีความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรที่เข้มแข็งและมีการบริหารจัดการที่ดี
  2. เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชผักปลอดสารบ้านเขากล้วยเพื่อการบริโภคและสามารถขยายตลาดได้อย่างยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สนับสนุนโครงการจาก (สสส)
  2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง 6 ครั้ง
  3. กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการปลูกพืชผักปลอดสารและการใช้สารชีวภัณฑ์
  4. กิจกรรมที่3 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในด้านการจัดการ น้ำ ทุน และการตลาด
  5. กิจกรรมที่5 WS.พัฒนาแปรูปกาแฟและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า
  6. กิจกรรมที่8 สร้างเครือข่ายพันธ์มิตรทางธุรกิจขยายตลาด
  7. ชื่อกิจกรรมที่ 2 อบรมการจัดทำแผนครัวเรือนและแผนธุรกิจ
  8. ชื่อกิจกรรมที่ 6 ws.จุดรวมรวมสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างเป็นระบบ ( 2 จุด)
  9. ชื่อกิจกรรมที่ 7 รับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร PGS สู่ครัวเรือนต้นแบบ
  10. ชื่อกิจกรรมที่ 9 พัฒนารูปแบบการขาย On- line และการขายแบบ On- Site
  11. ชื่อกิจกรรมที่ 10 สรุปบทเรียนและคืนข้อมูลสู่ชุมชน
  12. ชื่อกิจกรรมที่ 11 นำเสนอผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  13. ปฐมนิเทศโครงการ
  14. ทำป้ายโครงการ
  15. กิจกรรมที่ 8 สร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อการขยายตลาด 8.1 ประสานความร่วมมือกับ ม.แม่โจ้จัดตั้ง:โรงเรียนกาแฟโรบัสต้า 8.2 ตรวจคุณค่าโภชนาการกาแฟโรบัสต้า
  16. 1.1 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 1
  17. 1.2 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 2
  18. อบรมเชิงปฎิบัติการปลูกพืชผักปลอดสารและการใช้สารชีวภัณฑ์
  19. อบรมการทำบัญชีโครงการ
  20. 1.3 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 3
  21. กิจกรรมที่3 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในด้านการจัดการ น้ำ ทุน และการตลาด
  22. กิจกรรมที่5 WS.พัฒนาแปรูปกาแฟและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า
  23. จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ
  24. เวทีสมัชชาพลเมือง ฅนชุมพร ประจำปี 2565 (สมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร) และร่วมบันทึกความร่วมมือ (MOU) ประเด็นปกป้องเด็กและเยาวชนจากปัจจัยเสี่ยง
  25. เข้าร่วมเวทีติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา ร่วมกับพี่เลี้ยง และ Node ครั้งที่ 1
  26. 1.4 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 4
  27. กิจกรรมที่ 6 ws.จุดรวมรวมสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างเป็นระบบ ( 2 จุด)
  28. 1.5 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 5
  29. ร่วมบริหารจัดการโครงการ/ร่วมประชุมกับพี่เลี้ยง
  30. กิจกรรมที่ 2 อบรมการจัดทำแผนครัวเรือนและแผนธุรกิจ
  31. หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ
  32. กิจกรรมที่ 9 พัฒนารูปแบบการขาย On- line และการขายแบบ On- Site
  33. 1.6 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 6
  34. กิจกรรมที่ 7 รับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร PGS สู่ครัวเรือนต้นแบบ
  35. เข้าร่วมเวทีติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา ร่วมกับพี่เลี้ยง และ Node ครั้งที่ 2
  36. กิจกรรมที่ 10 สรุปบทเรียนและคืนข้อมูลสู่ชุมชน
  37. กิจกรรมที่ 11 นำเสนอผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  38. ร่วมบริหารจัดการโครงการ/ร่วมประชุมกับพี่เลี้ยง
  39. จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศโครงการผู้รับทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 4 คน ได้แก่ นายไตรสิทธิ์ ศรีช่วงโชติวัตร  นายกวินพัฒน์  ศิริมหาดำรงค์กุล นายชูเกียรติ นารีศรีสวัสดิ์ นายสมควร เนตรสุวรรณ
  • เรียนรู้ร่วมกันเชื่อมพลังผู้นำการเปลี่ยนแปลง เพื่อชุมพรน่าอยู่ โดย ดร.ฉันทวรรณ เอ่งฉ้วน ม.แม่โจ้
  • การแบ่งกลุ่มย่อยเพื่อคลี่บันไดผลลัพธ์โครงการย่อย โดยทีมสนันสนุนวิชาการ ทั้งหมด 7 กลุ่มย่อย โดยมีพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบแต่ละประเด็นเข้าประจำกลุ่มย่อยเพื่อทำหน้าที่ทำความเข้าใจการคลี่บรรไดผลลัพธ์ของแต่ละโครงการ
  1. เกษตรและอาหารระดับหมู่บ้าน
  2. เกษตรและอาหารระดับตำบล
  3. เกษตรและอาหารระดับสมาพันธ์เกษตรอำเภอ
  4. เกษตรและอาหารระดับเครือข่าย
  5. จัดการโรคเรื้อรังระดับชุมชน / หมู่บ้าน
  6. จัดการโรคเรื้อรังระดับหน่วยบริการ
  7. จัดการโรคเรื้อรังระดับดำบล

- ผู้ประสานงาน Node จากสมาคมประชาสังคมชุมพร ชี้แจงการบริหารโครงการ และเอกสารประกอบการจัดทำ โครงการ เช่น ใบสำคัญรับเงิน ใบลงทะเบียน แบบฟอร์มการรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เช่น ส.1 ,ง.1 เพื่อให้พื้นที่สามารถทำเอกสารด้านการเงินได้อย่างถูกต้อง - กลุ่มย่อยลงมือปฏิบัติจัดทำเอกสารด้านการเงิน เพื่อจะได้เรียนรู้ที่ถูกวิธี - แลกเปลี่ยนซักถามข้อสงสัยในเรื่องการจัดทำเอกสารด้านการเงิน พร้อมทั้ง ผู้ประสานงาน node ตอบข้อสงสัย เพื่อจะได้เข้าใจตรงกัน - ล้อมวง อภิปราย “ผู้ผลิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย” เป้าหมายที่ตั้งไว้เราจะเชื่อมโยงห่วงโซ่คุณค่าของ ระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ กับการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่ ด้วยกลไกการจัดการและกระบวนการอย่างไร โดย ดร.ชุมพล อังคณานนท์ นายธีรนันท์ ปราบราย นายวิโรจน์ แสงบางการ - ปิดการประชุม โดย นายวิโรจน์ แสงบางการ  ประธานคณะกรรมการโครงการ

 

4 0

2. จัดทำป้ายปลอดเหล้า บุหรี่

วันที่ 17 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานได้ติดป้ายประกาศ เขตปลอดเหล้าและบุหรี่ในพื้นที่และสถานที่ประชุม จากการที่มีการสื่อสารกันเรื่องพิษภัยของ บุหรี่ นับเป็นสิ่งเสพติดที่มีโทษมากมายต่อตัวผู้สูบ และบุคคลที่ใกล้ชิดทั้งยังเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคมะเร็ง ถุงลมโป่งพอง โรคเกี่ยวกับระบบหายใจ โรคหัวใจ ฯลฯ โดยการสูบบุหรี่ไม่ได้ทำให้เกิดโรคทันที  แต่สารพิษจะค่อยๆ สะสมในร่างกาย และก่อให้เกิดโรคในอนาคต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลดคนสูบบุหรี่ในสถานที่ประชุมได้

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 8 สร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อการขยายตลาด 8.1 ประสานความร่วมมือกับ ม.แม่โจ้จัดตั้ง:โรงเรียนกาแฟโรบัสต้า 8.2 ตรวจคุณค่าโภชนาการกาแฟโรบัสต้า

วันที่ 27 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการ เข้าร่วมพูดคุยกับ  อ.มหาวิทยาลัยแม่โจ้ชุมพร  เรื่่องการเปิดโรงเรียนกาแฟโรบัสต้า  เพื่อสอนเรื่องการผลิดกาแฟที่มีคุณภาพ ตั้งแต่เริ่มต้น ปลูก จนถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิตและการแปรรูป เพื่อสร้างมาตรฐานการผลิดกาแฟโรบัสต้าของจังหวัดชุมพรให้เป็นที่ยอมรับของประชาชน รวมถึง เป็นการสนับสนุนให้ เกิดกลุ่มผู้ผลิตกาแฟเพื่อการบริโภคเองด้วย  ครั้งที่ 1 วันที่ 25-26 มีนาคม 2565 เข้าร่วมเวทีพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการชุมชน การสนับสนุนการพัฒนาผู้ประกอบการชุมชนภายใต้โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนและผู้ประกอบการใหม่ด้านเทคโนโลยี่และนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่  จุดเริ่มต้นแนวคิดการจัดตั้งโรงเรียนกาแฟโรบัสต้า และตรวจคุณค่าโภชนาการกาแฟโรบัสต้า สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ โดยร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้และภาคี  ครั้งที่ 2 วันที่ 27 มิถุนายน 2565 เข้าร่วมเวที  การสื่อสารการตลาด การประชาสัมพันธ์และการพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนและเครือข่ายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้โครงการยกระดับวิสาหกิจชุมชนและผู้ประกอบการใหม่ด้านเทคโนโลยี่และนวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ ต่อยอดโรงเรียนกาแฟโรบัสต้าและ และตรวจคุณค่าโภชนาการกาแฟโรบัสต้า สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ โดยร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้และภาคี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการพูดคุยและวางแผน การเปิดโรงเรียน กาแฟโรบัสต้า  การเตรียมหาบุคลากรและการเตรียมสถานที่ รายวิชาที่จะเกิด โรงเรียนสอนการทำกาแฟ ต้นน้ำ,กลางน้ำ,ปลายน้ำ

 

3 0

4. 1.1 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 1

วันที่ 10 กรกฎาคม 2565 เวลา 10:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1  วันที่ 10 ก.ค 65  สถานที่  ที่ทำการวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร หมู่ที่ 10 ต.หาดพันไกร อ.เมือง จ.ชุมพร
จัดประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน โดยมีการทำความเข้าใจบรรไดผลลัพธ์ ตัวชี้วัด และกิจกรรมโครการ เพื่อให้คณะกรรมการ มีความเข้าใจและมีมุมมองไปในทิศทางเดียวกันพื่อทำให้โครงการดำเนินได้ตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด  15 คน จากหมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 10 ตำบลหาดพันไกร ซึ่งมาจาก แกนนำหมู่บ้าน หมอดินอาสา  ทำเกษตรปลอดสาร กลุ่มผู้สูงอายุ และที่ปรึกษา 2 ท่าน รวมทั้งมีการคัดเลือกคณะทำงานชุดเล็กเพื่อความคล่องตัวในการขับเคลื่อนงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้คณะกรรมการโครงการจำนวน 13 คนจากผู้ทีมีความสนใจในเรื่องโครงการและทำเรื่องอาหารปลอดภัยอยู่แล้ว  และที่ปรึกษาจำนวน 2 ท่าน  และคณะทำงานชุดเล็กจำนวน 5 ท่าน คณะทำงานโครงการ  ชุดใหญ่ 1. นายไตรสิทธิ์  ศรีช่วงโชติวัตร    หัวหน้าโครงการ 2. นายชูเกียรติ  นารีศรีสวัสดิ์        เหรัญญิก 3. นายภูมเดชา  จำรัสการ            ผู้ช่วยเลขา 4. นายกวินพัฒน์  ศิริมหาดำรงค์กุล  ธุรการ 5. นายสมควร  เนตรสุวรรณ          ประสานงาน 6. นายนิคม  รักษ์ขาว     กรรมการ 7. นางสาวบุญชู  วัดนครใหญ่        เลขา 8. นางจันทนา  วงษ์ศรีนาค          ประสานงาน 9. นายสุทิน  อินสุทน                  กรรมการ 10. นางมยุรีย์  ศรีสุวรรณ              ประชาสัมพันธ์ 11. นายจำเริญสุข  สอนชัด     กรรมการ 12. นางชลภัสสรณ์  สง่าป่า            กรรมการ 13. นายพรมกิจ  เนตรสุวรรณ          ประสานงาน 14. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลหาดพันไกร  ที่ปรึกษา 15. กำนันตำบลหาดพันไกร  ที่ปรึกษา และได้คณะทำงานชุดเล็กจำนวน 5 ท่าน เพื่อให้การทำงานมีความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น 1. นายไตรสิทธิ์  ศรีช่วงโชติวัตร    หัวหน้าโครงการ 2. นายชูเกียรติ  นารีศรีสวัสดิ์        เหรัญญิก 3.    นายสมควร  เนตรสุวรรณ          ประสานงาน 4. นายจำเริญสุข  สอนชัด     กรรมการ 5. นางสาวบุญชู  วัดนครใหญ่        เลขา

 

15 0

5. 1.2 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 2

วันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เวลา 10:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินงาน  คณะทำงานชุดเล็กร่วมประชุมทั้งหมด  5 คน และมีพี่เลี้ยง เข้าร่วมให้คำชี้แนะ วัตถุประสงค์การประชุมกลุ่มย่อยในครั้งนี้ เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกพืชผักปลอดสารและการใช้สารชีวภัณฑ์  ในวันที่ 8 สิงหาคม 2565
คณะทำงานโครงการชุดเล็กที่เข้าร่วมในครั้งนี้ 1.  นายไตรสิทธิ์  ศรีช่วงโชติวัตร 2.  นายชูเกียรติ  นารีศรีสวัสดิ์ 3. นายจำเริญสุข  สอนชัด 4. นายสมควร  เนตรสุวรรณ 5. นางสาวบุญชู  วัดนครใหญ่
6. นางสาวกรวรรณ  ไกรวิลาศ  พี่เลี้ยงโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รายละเอียดในการจัดเตรียมงานประชุมในวันที่ 8 สิงหาคม 65  และมีการแบ่งหน้าที่ รับผิดชอบ  ทั้งเชิญวิทยากร  การเตรียมอุปกรณ์ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ การเตรียมเรื่อง อาหารกลางวันและอาหารว่าง ร่วมถึงการเชิญเครือข่ายภาคีและหน่วยงานภาครัฐ ทั้งในตำบลและนอกตำบลให้เข้าร่วมในครั้งนี้

 

5 0

6. อบรมเชิงปฎิบัติการปลูกพืชผักปลอดสารและการใช้สารชีวภัณฑ์

วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การปลูกผักปลอดสารและการทำสารชีวภัณฑ์ ภายใต้โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน โดยมีนายทวีศักดิ์ สุทธานินทร์ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นประธานในการเปิดการอบรมในครั้งนี้  ภาคีในชุมชน และ คุณสุชิน  แก้วใจดี คุณพรมกิจ  เนตรสุวรรณ รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล  คุณจีรภา ตันกันยา ประธานสภา  คุณทรงชัย จิตธารา สมาชิก อบต.หมู่ 10  คุณพิรุฬห์ สักกามาตย์ เลขานายกฯ เข้าร่วมในครั้งนี้ โดยการอบรมได้รับเกียรติจาก
ศูนย์อารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร และเกษตร อำเภอเมือง
คุณชฎารัตน์ พรหมศิลา คุณอรกมล ฤคดี คุณน้ำฝน ลือเชาว์ คุณสุพัตรา เพ็งจันทร์  คุณเกสนี  บุญพัฒน์  เป็นวิทยากรร่วมฝึกปฏิบัติการเพาะเลี้ยง สารไตรโคเดอร์มา หัวเชื้อราบิวเวอเรีย และหัวเชื้อราเมตาลไรเซียม  จากการข้าวหุงสุกๆดิบๆ เพื่อนำไปใช้ในการฉีดในแปลงพืชผัก รวมถึงได้รับเกียรติจาก  คุณสราวุธ กาลพัฒน์  วิทยากรรับเชิญจาก ศุนย์เรียนรู้กสิกรรมธรรมชาติโจนจันได้ ชุมพรคาบาน่ามาให้ความรู้เรื่องทฤษฎีบรรไดเก้าขั้นสู่ความสำเร็จ..การใช้สมุนไพรและสิ่งใกล้ตัวในการทำสารชีวภัณฑ์เพื่อใช้กับพืชผักในครัวเรือน โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วม จำนวน 50 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการและคณะทำงานโครงการมีความรู้จากการใช้สารชีวภัณฑ์ที่ทางศูนย์อารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร  ได้ดำเนินการให้ความรู้เพื่อนำไปใช้กับผลผลิตของแต่ละบ้าน  ร่วมทั้งความรู้ จากคุณสราวุธ ที่ให้ความรู้เรื่องทฤษฎี บันได เก้าขั้นสู่ความสำเร็จ และการใช้สมุนไพรและสิ่งใกล้ตัวในการทำสารชีวภัณฑ์เพื่อใช้กับพืชผักในครัวเรือนที่ครัวเรือนสามารถนำไปต่อยอดเพื่อใช้กับพืชผักได้

 

50 0

7. การประชุมพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 26 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ โดยนายทวีวัตร เครือสาย  ผู้รับผิดชอบโครงการ 2.เรียนรู้ระบบขั้นตอน/เครื่องมือและสิ่งสำคัญในการบันทึกข้อมูลโครงการย่อยเข้าระบบออนไลน์ นายสุทธิพงษ์ (สนส.มอ.) /ทีมสนับสนุนวิชาการ 3.ฝึกปฎิบัติการบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบของ 25 โครงการย่อยและร่วมแลกเปลี่ยนนายสุทธิพงษ์ (สนส.มอ.) /ทีมสนับสนุนวิชาการ 4.สรุปการจัดประชุมพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ (NodeFlagship Chumphon)  และ นัดหมายการประชุมครั้งต่อไป นายทวีวัตร เครือสาย ผู้รับผิดชอบโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เหรัญญิกโครงการมีความเข้าใจและสามารถใช้โปรแกรมเพื่อคีย์ข้อมูลเข้าในระบบได้ แม้จะไม่เข้าใจเต็มร้อย เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ แต่ก็สามารถใช้งานโปรแกรมได้ และมีพี่เลี้ยงคอยดูแล หลังจากที่จบการอบรม

 

1 0

8. 1.3 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 3

วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 5 ก.ย 65  สถานที่  ที่ทำการวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร หมู่ที่ 10 ต.หาดพันไกร อ.เมือง จ.ชุมพร
จัดประชุมคณะทำงานเพื่อร่วมกัน ความเข้าใจบรรไดผลลัพธ์ ตัวชี้วัด และกิจกรรมโครการ เพื่อให้โครงการดำเนินได้ตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการมีความเข้าใจเรื่องโครงการและพร้อมใจที่จะทำให้ โครงการบรรลุตาม บรรไดผลลัพธ์

 

16 0

9. กิจกรรมที่3 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในด้านการจัดการ น้ำ ทุน และการตลาด

วันที่ 8 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการ จำนวน 2 ท่าน คณไตรสิทธิ์ และคุณชูเกียรติ นารีศรีสวัสดิ์ เข้าร่วมในเวทีของ สำนักงาน สำนักงานพาณิชณ์จังหวัด เพื่อร่วมพูดคุยในเรื่องการต่อยอดพัฒนาสินค้าของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตรและร่วมออกบูทแสดงสินค้าในงานเพื่อประชาสัมพันธ์ให้ให้กับกลุ่ม จำนวน 2 ครั้ง ครั้งแรกวันที่ 30 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมอำเภอเมืองชุมพร ครั้งที่ 2 วันที่ 9 กันยายน 2565 ณ และวันที่ 2 กันยายน 2565 ได้เข้าร่วมพูดคุยกับสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพรเพื่อสรุปงานการแปรรูปผลิตภัณฑ์กาแฟของ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานจำนวน 2 ท่าน ได้รับความรู้เรื่องการต่อยอดผลิตภัณฑ์ของกลุ่มวิสาหกิจ ทั้งเรื่องทุน  ช่องทางในการจำหน่ายสินค้า ให้กับกลุ่มลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆ และการพัฒนาด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความทันสมัยเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภค

 

2 0

10. กิจกรรมที่5 WS.พัฒนาแปรูปกาแฟและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการและสมาชิกโครงการ ร่วมกับ คณะทำงาน U2T มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดชุมพร จัดกิจกรรมเรียนรู้เรื่องการแปรรูปผลผลิตที่มีในชุมชน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและมีการลงมีปฎิบัติ เพื่อจะได้เรียนรู้ในวิธี การแปรรูป ตรีสุชา  โดยมีท่าน ดร.อธิป จันทร์สุรีย์ ให้ความรู้เรื่องการ แปรรูป ว่าที่ร้อยตรีหญิงวิราวรรณ  เพชรแก้ว และนางสาวดารัณ  เจริญวงค์  ให้ความรู้เบื้องต้นในเรื่องของการทำตลาดออนไลน์ โดยมีผู้เข้าร่วมอบรมในครั้งนี้จำนวน 50 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานและสมาชิกโครงการมีความรู้เรื่องการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่มีในชุมชนและในครัวเรือนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า  และเป็นการถนอมอาหารในรูปแบบหนึ่ง  รวมถึงการทำการตลาดออนไลน์เพื่อเพิ่มกลุ่มลูกค้า ได้เรียนการคั่วกาแฟโดยใช้กระทะทำเองที่บ้าน ได้เรียนการทำสบู่กาแฟใช้เองโดยนำกากกาแฟมาผสม ได้เรียนการคั่วใบกระท่อม,ใบเตย,ใบหม่อน 50/25/25 ทำชาดื่มเองและจำหน่าย ได้คเรียนรู้เรี่องการท่องเที่ยวโดยเชื่อมโยงกับพื้นที่

 

25 0

11. จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 23 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานทำรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ เพื่อปิด งวดแรก ตั้งเบิกงวด 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานโครงการ คีย์ข้อมูลรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ เพื่อปิดงวดแรก ตั้งเบิกงวด 2

 

1 0

12. เวทีสมัชชาพลเมือง ฅนชุมพร ประจำปี 2565 (สมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร) และร่วมบันทึกความร่วมมือ (MOU) ประเด็นปกป้องเด็กและเยาวชนจากปัจจัยเสี่ยง

วันที่ 26 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พิธีเปิด กล่าวรายงานโดย นางเดือนเพ็ญ  เคี่ยนบุ้น  รองนายแพทย์สาธารณสุข    จังหวัดชุมพร
กล่าวเปิด นายนพพร  อุสิทฺธิ์  นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร   
รายงานผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร ภายใต้โครงการ “สนับสนุนการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร ปี 2565 1) ประเด็นเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย 2) ประเด็นการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ นางสาวแสงนภา หลีรัตนะ
นำเสนอพื้นที่ต้นแบบที่มีผลงานเป็นรูปธรรม 1) ประเด็นเกษตรปลอดภัย :  ตัวแทนจากสมาพันธ์เกษตร อ.หลังสวน 2) ประเด็นการลดปัจจัยเสี่ยง :  ตัวแทนจากพื้นที่ตำบลเขาค่าย อ.สวี
3) ประเด็นงานของสภาองค์กรชุมชน :  ตัวแทนจากสภาองค์กรชุมชน
แบ่งกลุ่ม  Workshop การจัดการสุขภาวะของประชาชนที่อยากเห็นอยากเป็น - แผนการขับเคลื่อนงานด้านการจัดการสุขภาพของคนในชุมชน - มาตรการและแนวทางปฏิบัติในประเด็นดังนี้ 1) เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย 2) การลดปัจจัยเสี่ยงในชุมชน 3) การขับเคลื่อนงานของสภาองค์กรชุมชน
ตัวแทนกลุ่ม นำเสนอผลงานจากการ Workshop ทั้ง 3 กลุ่ม ๆ ละ 10 นาที
• ร่วมเป็นสักขีพยานในการบันทึกความร่วมมือ (MOU) ประเด็น          ปัจจัยเสี่ยง
การแสดงบทบาทสมมุติของกลุ่มเยาวชนชุมพร เปลี่ยนผ่านปัจจัยเสี่ยงสู่พื้นที่สร้างสรรค์
บันทึกความร่วมมือ (MOU) ประเด็นการปกป้องเด็กและเยาวชนจากปัจจัยเสี่ยง ระหว่างองค์กร ภาคี หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตณะทำงานได้รับความรู้หลากหลายประเด็นจากกลุ่มภาคี เครือข่ายที่เข้าร่วมในงานและสามารถนำไปประยุกตืใช้กับพื้นที่ได้

 

1 0

13. เข้าร่วมเวทีติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา ร่วมกับพี่เลี้ยง และ Node ครั้งที่ 1

วันที่ 31 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการเข้าร่วม เวทีติดตามประเมินผลโครงการ Node flagship Chumphon  (ARE (โครงการสนับสนุนเสริมสร้างสุขภาวะระดับพื้นที่ ชุมพรน่าอยู่ 65-66) โดยมีพื้นที่ เข้าร่วมทั้ง สิ้น 25 พื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานโครงการ วสช.วรรณะเกษตรเข้าร่วมเวทีติดตามประเมินผลโครงการ Node flagship Chumphon  ARE (โครงการสนับสนุนเสริมสร้างสุขภาวะระดับพื้นที่ ชุมพรน่าอยู่ 65-66)  จำนวน 2 ท่าน  เพื่อประเมินงานกิจกรรมของโครงการให้ตรง ตามบรรไดผลลัพธ์

 

2 0

14. 1.4 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 4

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 10 พ.ย 65  สถานที่  ที่ทำการวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร หมู่ที่ 10 ต.หาดพันไกร อ.เมือง จ.ชุมพร
จัดประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน โดยมีการทำความเข้าใจบรรไดผลลัพธ์ ตัวชี้วัด และกิจกรรมโครการ เพื่อให้คณะกรรมการ มีความเข้าใจและมีมุมมองไปในทิศทางเดียวกันพื่อทำให้โครงการดำเนินได้ตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รายละเอียดในการจัดเตรียมงานประชุมในครั้งต่อไป และมีการแบ่งหน้าที่ รับผิดชอบ  ทั้งเชิญวิทยากร  การเตรียมอุปกรณ์ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ การเตรียมเรื่อง อาหารกลางวันและอาหารว่าง ร่วมถึงการเชิญเครือข่ายภาคีและหน่วยงานภาครัฐ ทั้งในตำบลและนอกตำบลให้เข้าร่วมในครั้งนี้

 

16 0

15. กิจกรรมที่ 6 ws.จุดรวมรวมสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างเป็นระบบ ( 2 จุด)

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานและคณะกรรมการจัดตั้งทีมทำงานประสานหาสินค้า เพื่อเป็นจุดรวบรวมจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ให้กับกลุ่มผู้บริโภคทั่วไป โดยใช้ทุนส่วนหนึ่งจากการลงหุ้นของสมาชิก  หรือประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์โครงการ 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการมีมติเลือก วสช.วรรณะเกษตร เพื่อเป็นจุดรวบรวมและจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ให้กับกลุ่มผู้บริโภคทั่วไป โดยใช้ทุนส่วนหนึ่งจากการลงหุ้นของสมาชิก  หรือประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

13 0

16. 1.5 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 5

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน และพี่เลี้ยง เข้าร่วมให้คำชี้แนะ วัตถุประสงค์การประชุมในครั้งนี้ เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการทำบญชีครัวเรือน  ในวันที่ 15 มีนาคม  2565

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รายละเอียดในการจัดเตรียมงานประชุม  และมีการแบ่งหน้าที่ รับผิดชอบ  ทั้งเชิญวิทยากร  การเตรียมอุปกรณ์ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ การเตรียมเรื่อง อาหารกลางวันและอาหารว่าง ร่วมถึงการเชิญเครือข่ายภาคีและหน่วยงานภาครัฐ ทั้งในตำบลและนอกตำบลให้เข้าร่วมในครั้งนี้

 

17 0

17. ร่วมบริหารจัดการโครงการ/ร่วมประชุมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการมาปรึกษาหารือพี่เลี้ยงเรื่องการทำรายงานปิดโครงการและการจัดทำเอกสารต่าง ๆ  เพราะได้ดำเนินกิจกรรมในโครงการ ใกล้จะครบทุกกิจกรรมแล้ว จึงเข้ามาให้ทางพี่เลี้ยงแนะนำวิธีการทำรายงานและการทำเอกสารที่ถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจในเรื่องการทำรายงานและการทำเอกสารโครงการ

 

2 0

18. กิจกรรมที่ 2 อบรมการจัดทำแผนครัวเรือนและแผนธุรกิจ

วันที่ 15 มีนาคม 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการโครงการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการ/คณะทำงานและภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำแผนธุรกิจชุมชน ประกอบด้วยแผนการจัดการ แผนการผลิต แผนการตลาด/การประชาสัมพันธ์ แผนการเงิน ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ณ ศูนย์ประชุมหมู่บ้าน โดยได้รับความรู้จากสำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ะคณะทำงานและผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำครัวเรือน และแผนธุรกิจชุมชน ประกอบด้วยแผนการจัดการ  แผนการผลิต  แผนการตลาด และนำไปใช้กับการผลิตในครัวเรือนได้

 

30 0

19. หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ

วันที่ 17 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่ายเงินยืมเปิดบัญชีหัวหน้าโครงการ จำนวน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการคืนเงินให้ผู้รับผิดชอบโครงการที่ได้สำรองเงินเปิดบัญชี

 

0 0

20. กิจกรรมที่ 9 พัฒนารูปแบบการขาย On- line และการขายแบบ On- Site

วันที่ 24 มีนาคม 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการโครงการร่วมกับสำนักงานแรงงานจังหวัดจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการผลิตให้ได้คุณภาพมาตรฐาน  และการจัดการตลาดในรูปแบบตลาดออนไลน์ หรือตลาดหน้าร้าน โดยการจัดหาวิทยากรผู้มีประสบการณ์ตรงด้านการตลาด หรือประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่จัดอบรมตามหลักสูตรการตลาดที่สมาชิกต้องการเข้ารับพัฒนาศักยภาพ  ตามความพร้อมและศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจฯ จำนวน 30คน  ณ ชมทุ่งสเต็กส์เฮาส์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการขยายตลาดทั้ง On- line และ On- Site มีลูกค้ากลุ่มใหม่ จำหน่ายทั้งทาง On- line และการขายแบบ On- Site

 

30 0

21. 1.6 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 6

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน เข้าร่วมประชุมเพื่อสรุปการทำงานที่ผ่านมา  และวิเคราะห์จุด เด่นและจุดที่ต้องพัฒนา ของคณะทำงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานโครงการได้วิเคราะห์ การทำงานที่ผ่านมา ตลอด 1 ปี  คณะทำงานยังขาดความรู้และความเข้าใจเรื่องของการทำงานโครงการ  ส่วนทางด้านความพร้อมในการทำงานเป็นทีม คณะทำงานทุกท่าน มีความพร้อมที่จะพัฒนาต่อไป

 

16 0

22. กิจกรรมที่ 7 รับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร PGS สู่ครัวเรือนต้นแบบ

วันที่ 4 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม จัดประชุมสร้างความเข้าใจการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรแบบมีส่วนร่วม PGS  จำนวน 30 ราย    และเตรียมการ บันทึกข้อมูลรายแปลง  ประสานทีมตรวจรับรองสินค้าเกษตรในแปลง  หรือ สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดชุมพร 
1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์โครงการ 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและผู้ตรวจแปลงได้ลงตรวจแปลงคณะกรรมการและสมาชิกโครงการจำนวน 10 แปลง

 

10 0

23. เข้าร่วมเวทีติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา ร่วมกับพี่เลี้ยง และ Node ครั้งที่ 2

วันที่ 10 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการถอดบทเรียนโครงการ และนำไปพัฒนาต่อยอดกับโครงการในชุมชนได้

 

2 0

24. กิจกรรมที่ 10 สรุปบทเรียนและคืนข้อมูลสู่ชุมชน

วันที่ 20 เมษายน 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานขับเคลื่อนฯ และ จนท. ที่เกี่ยวข้อง จัดเวทีสรุปบทเรียนและคืนข้อมูลสู่ชมชน พร้อมนำเสนอผลการดำเนินงาน  ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาการผลิตและคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่ จำนวน 30 คน 1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประชาสัมพันธ์โครงการ 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้สรุปบทเรียนในการทำโครงการและ คืนข้อมูลให้กับชุมชนเพื่อทราบถึงจุดเด่นที่ต้องพัฒนาต่อยอดและจุดด้อยที่ต้องปรับปรุงแก้ไข

 

30 0

25. กิจกรรมที่ 11 นำเสนอผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานขับเคลื่อนฯ และ จนท. ที่เกี่ยวข้อง จัดเวที พร้อมนำเสนอผลการดำเนินงาน ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาการผลิตและคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ยื่นข้อเสนอต่อสำนักงานแรงงานหวัดชุมพรเรื่องการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ หลักสูตรการพัฒนาการผลิตเพื่อสร้างมูลค่ากาแฟโรบัสต้า

 

30 0

26. ร่วมบริหารจัดการโครงการ/ร่วมประชุมกับพี่เลี้ยง

วันที่ 29 เมษายน 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการมาปรึกษาหารือพี่เลี้ยงเรื่องการทำรายงานปิดโครงการและการจัดทำเอกสารต่าง ๆ  เพราะได้ดำเนินกิจกรรมในโครงการครบทุกกิจกรรมแล้ว จึงเข้ามาให้ทางพี่เลี้ยงแนะนำวิธีการทำรายงานและการทำเอกสารที่ถูกต้อง โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  3  ท่าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจในเรื่องการทำรายงานและการทำเอกสารโครงการและสามารถ คีย์ข้อมูลรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ เพื่อปิดโครงการได้

 

3 0

27. จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานทำรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ เพื่อปิดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานโครงการ คีย์ข้อมูลรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ เพื่อปิดโครงการ

 

1 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาวิสาหิจชุมชนวรรณะเกษตรให้มีความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรที่เข้มแข็งและมีการบริหารจัดการที่ดี
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1.คณะทำงานมีการบริหารจัดการที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจสามารถทำงานได้ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2.เกิดแผนครัวเรือนและแผนธุรกิจ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 เกิดความร่วมมือกับหน่วยงาน
1.00 15.00

 

2 เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชผักปลอดสารบ้านเขากล้วยเพื่อการบริโภคและสามารถขยายตลาดได้อย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 2 เกิดการขยายการปลูกพืชผักปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนและการแปรรูปที่เป็นระบบ รวมสินค้าที่เป็นระบบตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1. มีผู้เชี่ยวชาญในกระบวนการผลิต พืชผักปลอดสาร 10 คน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 มีการผลิตพืชผักปลอดภัย 22 ครัวเรือน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 ได้ผลผลิตที่มีความหลากหลาย เช่น ถั่ว แตง ถั่วพู มีตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 เกิดจุดรวมบ ผลลัพธ์ที่ 3 มีทุนหมุนเวียนและมีตลาดรองรับผลผลิตแบบยั่งยืน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 มีการขยายตลาด มีลูกค้ากลุ่มใหม่ จำหน่ายทั้งทาง On- line และการขายแบบ On- Site ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2มีพันธมิตรทางการตลาดเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.3 เกิดครัวเรือนต้นแบบ 10 ครัวเรือน ผลลัพธ์ที่ 4 มีพื้นที่เกษตรการปลูกพืชผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น 10% ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1.เกิดอาชีพและรายได้เพิ่มครัวเรือนละ 3,000 บาท ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 เพิ่มพื้นที่ปลูกผักปลอดสารได้ 22 แปลง และมีเกษตรกรเข้าร่วมเพิ่มขึ้น 22 ครัวเรือน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีแนวทางการพัฒนาวิสาหกิจและชุมชนอย่างมีระบบ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 มีพื้นที่เกษตรการปลูกพืชผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น 10%
1.00 3,000.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาวิสาหิจชุมชนวรรณะเกษตรให้มีความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรที่เข้มแข็งและมีการบริหารจัดการที่ดี (2) เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชผักปลอดสารบ้านเขากล้วยเพื่อการบริโภคและสามารถขยายตลาดได้อย่างยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สนับสนุนโครงการจาก (สสส) (2) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง 6 ครั้ง (3) กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการปลูกพืชผักปลอดสารและการใช้สารชีวภัณฑ์ (4) กิจกรรมที่3 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในด้านการจัดการ น้ำ ทุน และการตลาด (5) กิจกรรมที่5 WS.พัฒนาแปรูปกาแฟและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า (6) กิจกรรมที่8 สร้างเครือข่ายพันธ์มิตรทางธุรกิจขยายตลาด (7) ชื่อกิจกรรมที่ 2 อบรมการจัดทำแผนครัวเรือนและแผนธุรกิจ (8) ชื่อกิจกรรมที่ 6 ws.จุดรวมรวมสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างเป็นระบบ  ( 2 จุด) (9) ชื่อกิจกรรมที่ 7  รับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร PGS สู่ครัวเรือนต้นแบบ (10) ชื่อกิจกรรมที่ 9  พัฒนารูปแบบการขาย On- line และการขายแบบ On- Site (11) ชื่อกิจกรรมที่ 10 สรุปบทเรียนและคืนข้อมูลสู่ชุมชน (12) ชื่อกิจกรรมที่ 11 นำเสนอผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (13) ปฐมนิเทศโครงการ (14) ทำป้ายโครงการ (15) กิจกรรมที่ 8 สร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อการขยายตลาด 8.1 ประสานความร่วมมือกับ ม.แม่โจ้จัดตั้ง:โรงเรียนกาแฟโรบัสต้า 8.2  ตรวจคุณค่าโภชนาการกาแฟโรบัสต้า (16) 1.1 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง  ครั้งที่ 1 (17) 1.2 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 2 (18) อบรมเชิงปฎิบัติการปลูกพืชผักปลอดสารและการใช้สารชีวภัณฑ์ (19) อบรมการทำบัญชีโครงการ (20) 1.3 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 3 (21) กิจกรรมที่3 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในด้านการจัดการ น้ำ ทุน และการตลาด (22) กิจกรรมที่5 WS.พัฒนาแปรูปกาแฟและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า (23) จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ (24) เวทีสมัชชาพลเมือง ฅนชุมพร ประจำปี 2565 (สมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร) และร่วมบันทึกความร่วมมือ (MOU) ประเด็นปกป้องเด็กและเยาวชนจากปัจจัยเสี่ยง (25) เข้าร่วมเวทีติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา  ร่วมกับพี่เลี้ยง และ Node ครั้งที่ 1 (26) 1.4 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 4 (27) กิจกรรมที่ 6 ws.จุดรวมรวมสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนอย่างเป็นระบบ  ( 2 จุด) (28) 1.5 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 5 (29) ร่วมบริหารจัดการโครงการ/ร่วมประชุมกับพี่เลี้ยง (30) กิจกรรมที่ 2 อบรมการจัดทำแผนครัวเรือนและแผนธุรกิจ (31) หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ (32) กิจกรรมที่ 9  พัฒนารูปแบบการขาย On- line และการขายแบบ On- Site (33) 1.6 ประชุมคณะทำงานและแกนนำชุมชนเพื่อปรึกษาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องต่อเนื่อง ครั้งที่ 6 (34) กิจกรรมที่ 7  รับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร PGS สู่ครัวเรือนต้นแบบ (35) เข้าร่วมเวทีติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา  ร่วมกับพี่เลี้ยง และ Node ครั้งที่ 2 (36) กิจกรรมที่ 10 สรุปบทเรียนและคืนข้อมูลสู่ชุมชน (37) กิจกรรมที่ 11 นำเสนอผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (38) ร่วมบริหารจัดการโครงการ/ร่วมประชุมกับพี่เลี้ยง (39) จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ (12)โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน

รหัสโครงการ 65-00240-0012 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

คณะทำงานเกิดกระบวนการในการบริหารจัดการ วิสาหกิจชุมชน อย่างเป็นระบบ

 

การพัฒนาคนให้มีความสามารถในการทำงานที่มีความหลากหลายและมีความรู้เพื่อแนะนำสมาชิกได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การใช้สารชีวภัณฑ์ ในพืชผัก ที่ปลูกรับประทานในครัวเรือน

 

แนะนำให้คนในชุมชน ใช้สารชีวภัณฑ์ในครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

เลิกใช้สารเคมีในครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการประสานงานกับเครือข่ายภายนอกเพื่อต่อยอดการทำงาน่

 

นำความรู้มาเผยแพร่ให้กับ คนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดการทำแผนครัวเรือนเพื่อใช้ในการดำเนินงานต่าง ๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ทำให้คนที่มีองค์ความรู้ได้ มีเวทีเพื่อ เผยแพร่ให้กับคนในชุมชนได้

 

นำความรู้ไปต่อยอดงานอื่น ๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ทำให้ชุมชนมองเป็นประโยชน์ส่วน ร่วม และส่วนตน เพื่อพัฒนาชุมชนให้ก้าวหน้า

 

พัฒนาคนรุ่นใหม่ ให้มีจิตสาธาระณะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

ชุมชนอยู่อย่าง พอเพียง พออยู่ พอกิน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนมีการช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

(12)โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน จังหวัด ภาคใต้

รหัสโครงการ 65-00240-0012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไตรสิทธิ์ นามสกุล ศรีช่วงโชติวัตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด