directions_run

โครงการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 (น้ำจิ้ม) บ้านศาลาเชือก

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node โควิค ภาคใต้


“ โครงการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 (น้ำจิ้ม) บ้านศาลาเชือก ”

บ้านศาลาเชือก ม.6 ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลอาซิซ โต๊ะเดร์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 (น้ำจิ้ม) บ้านศาลาเชือก

ที่อยู่ บ้านศาลาเชือก ม.6 ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-10018-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2022 ถึง 31 สิงหาคม 2023


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 (น้ำจิ้ม) บ้านศาลาเชือก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านศาลาเชือก ม.6 ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node โควิค ภาคใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 (น้ำจิ้ม) บ้านศาลาเชือก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 (น้ำจิ้ม) บ้านศาลาเชือก " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านศาลาเชือก ม.6 ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-10018-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2022 - 31 สิงหาคม 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก Node โควิค ภาคใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้มีผู้ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทรงอ้อมเป็นจำนวนมาก และเกิดปัญหาติดขัดในเรื่องการใช้ชีวิต การทำงาน การดำเนินธุรกิจ มีการปิดกิจการและลดพนักงาน ทำให้มีการว่างงาน ทำให้ส่งผลกระทบไปถึงปัญหารายได้ครัวเรือนของประชาชนทำให้เกิดภาวะตามมาคือ ขาดแคลนอาหาร ครอบครัวขาดรายได้ในการดำรงชีพ และบางรายไม่สามารถทำอาชีพอะไรได้เนื่องจากเคยประกอบอาชีพรับจ้างในต่างประเทศ จึงมีความคิดที่อยากจะกลุ่มสร้างผลิตภัณฑ์ในชุนชนบ้านศาลาเชือก ที่สามารถสร้างรายได้เสริมในช่วงวิกฤตินี้ ชุมชนบ้านศาลาเชือกมีกลุ่มแม่บ้านที่มีอาชีพเป็นหลัดในการหารายได้เพิ่มรวมกับหัวหน้าครอบครัว คืออาชีพการตัดเย็บเสื้อผ้า ผ้าคลุม การค้าขาย แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้ได้รับผลกระทบจากอาชีพ คือมีการลดการจ้างตัดเย็บ หรือถูกเลิกจ้าง การค้าขายต้องปิดกิจการ ทำให้กลุ่มแม่บ้านขาดรายได้เข้ามาใช้จ่ายในครอบเรือน ทำให้เกิดภาวะเครียด ความซึมเศร้าและการทะเลาะวิวาทภายในครอบครัว บางรายมีค่าใช้จ่ายสูงจึงเป็นการสร้างหนี้เพิ่มให้กับครอบครัว จึงได้มีการรวมกลุ่มเพื่อสร้างกิจการ(ทำน้ำจิ้ม)
ชุมชนบ้านศาลาเชือกมีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 469 หลังเรือน มีประชากรทั้งหมด 2012 คน มีประชากรที่เป็นศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธอยู่รวมกัน โดยมีประชากรนับถือศาสนาอิสลาม จำนวน 446 หลังคาเรือน จำนวนประชากร 1957 คน ประขากรนับถือศาสนาพุทธ จำนวน 23 หลังคาเรือน จำนวนประขากร 55 คน บ้านศาลาเชือกเป็นหมู่บ้านชายฝังทะเล ติดคลองแม่น้าตากใบและพื้นที่เกษตร เป็นแหล่งประกอบอาชีพของคนในหมู่บ้าน แต่เมื่อเข้าฤดูฝนและเกิดอุทกภัยก็จะทำให้ขาดรายได้กับครอบครัว และบางส่วนก็มีอาชีพรับจ้างทั่วไป เมื่อมีการระบาดของโควิด-19 เข้ามาทำให้มีครัวเรือนที่ป่วยและต้องปิดหมู่ในบางพื้นที่ทีมีการแพร่ระบาดอย่างมาก จำนวน 102 ครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 21.78 เมื่อป่วยแล้วทำให้ประชากรต้องกักตัว และไม่สามารถไปทำงาน บางรายต้องตกงาน ทำให้ขาดรายได้ และร้านค้ามีการกักตุนอาหาร ขึ้นราคาสินค้าทำให้ และไม่กล้าที่จะออกไปจากชุชนไปยังตลาดเพราะสถานการณ์โควิด-19 บ้านศาลาเชือกได้มีการรวมกลุ่มเพื่อส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับผู้ที่รับได้ผลกระทบ จากการร่วมกลุ่มของกลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน ในปีที่ผ่านได้มีการส่งเสริมการออมเงินแต่ละเดือนในกลุ่มทำให้มีเงินเก็บและในปีนี้ได้มีการเอาเงินออมส่งเสริมอาชีพในการจัดทำหมอนและจำหน่าย กลุ่มเยาวชนมีการจัดทำเสื้อจำหน่ายทำให้มีรายได้และได้มีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านศาลาเชือกให้มีการออมเงินเพื่อใช้ในการพัฒนาอาชีโดยลดภาระการกู้ยืมจากแหล่งที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้นชุนชนบ้านศาลาเชือก มีความต้องการพัฒนาทักษะด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์สินค้าที่มีอยู่ในชุมชน สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน จึงได้มีการรวมตัวของสมาชิกในชุมชนเพื่อดำเนินการจัดหางบประมาณในการจัดทำโครงการ เพื่อเสริมสร้างและเกิดกระบวนการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมให้สามารถปรับตัวได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างทัศนคติในการสร้างความสามัคคีและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เป็นฐานพลังในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนให้ประสบความสำเร็จ เป็นแบบอย่างที่ดีในการแก้ไขปัญหาสังคม เพื่อนำไปสู่การพัฒนาชุมชน และมีส่วนร่วมในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาในระดับท้องถิ่นอันเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19 2.เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19
  2. 1.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการ ระบาด โควิด 19 2.เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและ รายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบ จากการระบาด โควิด 19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการและสสส.
  2. จัดประชุมแกนนำ / คณะทำงาน (3 ครั้ง)
  3. ประชุมเชิงปฎิบัติการและฝึกอบรม
  4. กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการ สสส.
  5. จัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1
  6. ค่าป้ายไวนิลโครงการ
  7. ค่าจัดทำสมุดบันทึกครัวเรือน(รายรับ-รายจ่าย)
  8. การเก็บข้อมูล - เก็บข้อมูลโครงการของกลุ่มแม่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับโครงการมากน้อยเพียงใด
  9. อบรมความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงินกับสสส.หรือหน่วยจัดการระดับจังหวัด
  10. จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ -เพื่อสร้างความเข้าใจของโครงการ
  11. การจัดอบรมคืนข้อมูลสะท้อนปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย
  12. ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบน้ำจิ้ม
  13. จัดอบรมการส่งเสริมอาชีพตามความถนัดของกลุ่มเป้าหมาย(น้ำจิ้ม)
  14. เวทีแลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน
  15. ถอนเงินเปิดบัญชี
  16. จัดอบรมช่องทางการตลาด
  17. จัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2
  18. เวที่แลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน
  19. อบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องของสุภาพ การออม การเงิน และอาชีพ
  20. ประชุมคืนข้อมูลการดำเนินงานร่วมการภาคีในพื้นที่และสรุปกิจกรรมตลอดมา
  21. จัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
คณะทำงาน 10
ชุมชน 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครัวเรือน 30 ครัวเรือนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพในการหารายได้ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. ครัวเรือน 30 ครัวเรือนสามารถพึงพาตนเองและมีความสามารถที่จะออมเงินจากที่เหลือในการจ่ายใช้ในครอบครัว เพื่อใช้ในยามฉุกเฉินได้

แนวทางการนำผลที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์หรือขยายผล 1.ขยายผลอย่างต่อเนื่องให้กับครัวเรือนที่ยังไม่ได้รับเข้าร่วมโครงการเพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพให้ทั่วถึงในชุนชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการ สสส.

วันที่ 17 กันยายน 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรม/ปฐมนิเทศ 1-การมำความใจรสยละเอียด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เป้าหมายคณะทำงาน2คน -การทำความเข้าใจรายละเอียดโครงการที่ได้รับทุน -การบริหารจัดการโครงการ ( การจัดการข้อมูล , การรายงานผลข้อมูล) -เเนวทางปฎิบัติด้านการเงินของโครงการ

 

2 0

2. จัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 5 ตุลาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ก่อนเริ่มทำกิจกรรม ประชุมคณะทำงานและชี้แจงความเข้าโครงการโดยละเอียด แบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนพร้อมกับวางแผนการดำเนินงานร่วมกันเพื่อกำหนดการลงพื้นที่เก้บข้อมูลในช่วงต้นโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีการวางแผนงานโครงการที่ชัดเจน -คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจอย่างละเอียด คณะทำงานโครงการรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง

 

10 0

3. ค่าป้ายไวนิลโครงการ

วันที่ 28 ตุลาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ไวนิลใช้ประกอบในการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายทราบถึงชื่อโครงการอย่างชัดเจน เพื่อประกอบการดำเนินโครงการในแต่ละกิจกรรม

 

40 0

4. ค่าจัดทำสมุดบันทึกครัวเรือน(รายรับ-รายจ่าย)

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป้าหมาย -ผู้เข้าร่วม30คน -คณะทำงาน10คน รวม40คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้บันทึกรายรับ-จ่ายจ่ายและจะได้บริหารเงินในครัวเรือน

 

40 0

5. การเก็บข้อมูล - เก็บข้อมูลโครงการของกลุ่มแม่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับโครงการมากน้อยเพียงใด

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย    - ผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน                       - เพื่อรับรู้ปัญหาของผู้เข้าร่วมโครงการ
                      - เพื่อสนับสนุนช่วยเหลือแก้ไขปัญหา                       - เพือให้คณะทำงานได้รับข้อมูล เพื่อดำเนินการแกไขปัญหา
                        ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีข้อมูลประจำตัวของผู้เข้าร่วมโครงการ         2. เพื่อรู้ถึงผลกระทบที่ได้รับในช่วงก่อนเข้าร่วมโครงการ         3.ความเดือดร้อนที่ได้รับของผู้เข้าร่วมโครงการ         4.ความเป็นอยู่ของผู้เข้าร่วมโครงการ         5.รายได้และรายจ่ายของผู้เข้าร่วมโครงการ

 

30 0

6. อบรมความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงินกับสสส.หรือหน่วยจัดการระดับจังหวัด

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

แสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้รับความรู้ด้านสุขภาพและการเงิน

 

10 0

7. จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ -เพื่อสร้างความเข้าใจของโครงการ

วันที่ 10 ธันวาคม 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-มีแผนการดำเนินงานที่จัดเชน -การเก็บข้อมูล
-การอบรม
-การปฏิบัติ
-การติดตาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เพื่อชี้แจ้งวัตถุประสงค์ของโครงการ -เพื่อสร้างและรับทราบแนวทางของการทำโครงการ -ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบและยอมรับตามเงื่อนไขในการจัดทำโครงการ -ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจและพร้อมปฎิบัติในการจัดทำโครงการ

 

40 0

8. การจัดอบรมคืนข้อมูลสะท้อนปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 15 ธันวาคม 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดอบรม ให้ความรู้ เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตในการแก้ปัญหาของครอบครัว -เพื่อความรู้ให้กับกลุ่มแม่บ้านในการแก้ปัญหารวมกันในการหารายได้ การทำอาชีพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เพื่อให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมายในการแก้ปัญหาร่วมกันในการหารายได้และการประกอบอาชีพ -เพิ่มช่องทางการหารายได้ให้กับครอบครัว

 

40 0

9. ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบน้ำจิ้ม

วันที่ 17 ธันวาคม 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • รู้กระบวนการทำน้ำจิ้ม
  • คะแนนร้อยละ ความพึงพอใจและความเข้าใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เห็นกระบวนการในการทำน้ำจิ้มที่ทีประสิทธิภาพ และสามารถกลับมาปฏิบัติทำโครงการในพื้นที่ได้   -ได้ความรู้ในการปรับปรุงสูตรส่วนผสมของน้ำจิ้ม
      -ได้ผลผลิตเพื่อเพิ่มรายได้   -สามารถต่อยอดอาชีพ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย

 

40 0

10. จัดอบรมการส่งเสริมอาชีพตามความถนัดของกลุ่มเป้าหมาย(น้ำจิ้ม)

วันที่ 28 ธันวาคม 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • เรียนรู้วิธีการแปรรูป พริก กระเทียม เครื่องปรุงต่างๆในการผสมให้เข้ากันและการใช้สารในการเก็บรักษาได้นาน
  • เรียนรู้การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษา
  • เรียนรู้วิธีการตลาดตลาดออนไลน์และตลาดออฟไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เพื่อเรียนรู้วิธีการแปรรูปวัตถุดิบ(น้ำจิ้ม) -เพื่อเรียนรู้การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และการเก็บรักษา -เพิ่มความรู้และทักษะส่งเสริมในการประกอบอาชีพ -สามารถสร้างและเพิ่มรายได้ของผู้เข้าร่วมโครงการ

 

40 0

11. เวทีแลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมลงทะเบียน วันที่ 11 ก.พ. 66
1. นำเสนอในภาพรวมของทีมหน่วยจัดการ และผลลัพธ์ของการดำเนินงาน
2. นำเสนอความก้าวหน้าและผลลัพธ์การดำเนินงาน ในห้วง 6 เดือน   โดยแบ่งเป็น 2 ห้องย่อย วันที่ 12 ก.พ. 66
1. แบ่งกลุ่มตามจังหวัดในหัวข้อ แนวทางการปรับปรุงโครงการเพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์อย่างไร
2. สรุปกิจกรรมภาพรวมของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้ง 2 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เวทีแลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน

 

10 0

12. ถอนเงินเปิดบัญชี

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้มีอำนาจถอนเงิน (2ใน3)ถอนเงินเปิดบัญชีคืนเจ้าของบัญชี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าของบัญชีได้เงินเปิดบัญชีคืน

 

2 0

13. อบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องของสุภาพ การออม การเงิน และอาชีพ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่10 พ.ค. 66 เวลา 09.00 น. ณ อาคารอเนกประสงค์ คณะทำงานพร้อมผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อเตรียมความพร้อมทำกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องของสุภาพ การออม การเงิน และอาชีพ โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้ง 30 คน เปิดการลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมโดยมีนายอับดุลอาซิซ โตะเดร์ ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวต้อนรับและเป็นประธานเปิดพีธี ได้เชิญนางสาวมูนา นิโบ เป็นวิทยากรบรรยายเรื่องเชิงปฏิบัติการในเรื่องของสุภาพ การออม การเงิน และอาชีพ ให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมีหัวข้อต่อไปนี้ -การดูแลสุขภาพ 1-ด้านอาหาร อาหารที่ชะลอวัย เป็นอาหารที่ให้ประโยชน์หรือมีคุณค่าทางอาหารมาก มีโทษน้อย มักเป็นประเภทผัก ผลไม้ ธัญพืชไม่ขัดสี เนื้อสัตว์ประเภทปลา นมไขมันต่ำ เป็นต้น 2-ด้านออกกำลังกาย หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกายเพิ่มจากปกติ เป็นรูปแบบชัดเจน ทำต่อเนื่องสม่ำเสมอในระยะเวลาประมาณ 20-30 นาทีขึ้นไป ซึ่งต่างจากการออกแรงหรือใช้กำลังทำงาน เพราะให้ผลดีในการส่งเสริมและป้องกันโรคต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นต่อระบบหัวใจ หลอดเลือด และระบบหายใจ เป็นต้น 3-ด้านอารมณ์และทัศนคติ ร่างกายและจิตใจทำงานสัมพันธ์กันอยู่ตลอดเวลา การมีจิตใจที่ดี เบาสบาย รวมถึงมีความสามารถในการรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ จะช่วยลดความตึงเครียดได้ ซึ่งโอกาสที่ร่างกายจะหลั่งสารหรือฮอร์โมนที่ส่งผลเสียต่อร่างกายเองนั้นก็จะมีน้อย ความแก่ก็จะเกิดขึ้นได้ยากหรือช้าลง

ประโยชน์ของการออมเงิน วางแผนระยะยาวให้ชีวิต 1.ความมั่นคงทางการเงิน 2.บรรลุเป้าหมายทางการเงิน 3.สร้างความมั่งคั่ง 4.อิสระและความยืดหยุ่นที่มากขึ้น 5.กองทุนฉุกเฉิน 6.การจัดการหนี้ที่ดียิ่งขึ้น 7.การออมเงินเพื่อวางแผนเกษียณ 8.อิสรภาพทางการเงิน 9.ความอุ่นใจและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น 10.ส่งต่อความมั่งคั่งจากรุ่นสู่รุ่น แนวทางการออมเงินด้วยแอป MAKE by KBank สรุป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เรียนรู้ทางการตลาดและทางระบบออนไลน์ เพื่อยกระดับคุณภาพสินค้า 2.เรียนการทำบัญชี รายรับ - รายจ่ายในการลงทุนประกอบอาชีพได้ 3. มีวินัยในการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น 4. รู้จักการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่มี 5.เรียนรู้การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย 6.มีวินัยในการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น

 

40 0

14. จัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2

วันที่ 15 พฤษภาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามช่วงการดำเนินโครงการ

วันที่ 15 พ.ค. 66 เวลา 09.00 น. คณะทำงานทุกคนเข้าร่วมประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน โดยประธาน นายอับดุลอาซิซ โต๊ะเดร์ กล่าวเปิดการประชุมจากนั้นชี้แจงวาระการประชุมดังนี้
วาระที่ 1 เรื่อง แจ้งเพื่อทราบ สืบเนื่องจากกิจกรรมที่แล้ว  โดยประธานได้สรุปกิจกรรม และเสนอแนวทางการพัฒนากลุ่มน้ำจิ้ม
วาระที่ 2 คณะทำงานทุกคนรับรองการประชุม
วาระที่ 3 พิจารณา น.ส.อีดาวาตี สาและ เลขานุการ ได้ชี้แจงการลงพื้นที่ของพี่เลี้ยงในการ สรุปผลการดำเนอนงานครั้งที่ 2 (ARE.2) โดยสร้างผังใยแมงมุม และคลี่กิจกรรมใหม่เพื่อสรุปผลการดำเนินงานสรุปงบประมาณการสนับสนุนจากหน่วยจัดการ70,000บาท แบ่ง3งวด งวดที่1จำนวน50,000บาท งวดที่2ได้รับ25,000 บาท และงวดที่3ตั้งเบิกสรุปรายงานจำนวน5,000 บาท และสรุปผลการดำเนินงานงบประมาณ1.บริหารจัดการที่ สสส. สนับสนุน 10,000 บาท วาระที่4  แจ้งดำเนินงานและลงพื้นที่สำรวจเก็บข้อมูลรายได้และหนี้สินในครัวเรือนเป้าหมาย จำนวน 3 ระยะ (ก่อนเริ่ม - ระหว่าง -สิ้นสุดโครงการกิจกรรม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เพื่อติดตามช่วงการดำเนินโครงการ -รับรู้ถึงความคืบหน้าของโครงการ -ได้ทราบถึงปัญหาและแนวทางการแก้ไข

 

10 0

15. จัดอบรมช่องทางการตลาด

วันที่ 26 พฤษภาคม 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่26 พ.ค. 66 เวลา 09.00 น. คณะทำงานพร้อมผู้เข้าร่วมโครงการ ณ อาคารอเนกประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมทำกิจกรรมอบรมช่องทางการตลาดได้นัดหมายกลุ่มเป้าหมายทั้ง 30 คน เปิดการลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมโดยมีนายอับดุลอาซิซ โตะเดร์ ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นประธานกล่าวและทักทายสอบถามผู้เข้าร่วมกิจกรรมและมอบให้นางสาวโนปาดีลา หะยีมะเซ็ง เป็นวิทยากรบรรยายเรื่องช่องทางการตลาด บทบาทของช่องทางการตลาดในกลยุทธ์การตลาดมีดังนี้ 1-เชื่อมโยงผู้ผลิตไปยังผู้ซื้อ 2-ทำการขาย การโฆษณา และการส่งเสริมการตลาด 3-ช่องทางการตลาด คือชุดของแนวทางปฏิบัติหรือกิจกรรมที่จำเป็นในการถ่ายโอนความเป็นเจ้าของสินค้าและการเคลื่อนย้ายสินค้า จากจุดที่เกิดการผลิตไปจนถึงจุดที่เกิดการบริโภค ซึ่งประกอบด้วยสถาบันทั้งหมดและกิจกรรมทางการตลาดทั้งหมดในกระบวนการทางการตลาด ช่องทางการตลาดเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์อย่างหนึ่งสำหรับการจัดการ จากนั้นได้แบ่งกลุ่มสอนการเรียนรู้ช่องการตลาดโดยใช้แอปลีเคเชน เฟสบุ๊ก ไลน์ และติกต๊อก และทางวิทยากรเปิดสอบถามเพิ่มเติมให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จากนั้นมอบหมายให้กับนายมะยูนัน มามะ เป็นพีเลี้ยงได้พบปะสอบถามปัญหาอุปสรรค์ระยะเวลาผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เรียนรู้ทางการตลาดและทางระบบออนไลน์เพื่อยกระดับสินค้า -เรียนรู้การทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายในการลงทุน -เรียนรู้ทางการตลาดและทางระบบออนไลน์ เพื่อยกระดับคุณภาพสินค้า -เรียนการทำบัญชี รายรับ - รายจ่ายในการลงทุนประกอบอาชีพได้ -มีวินัยในการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น -รู้จักการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่มี

 

40 0

16. ประชุมคืนข้อมูลการดำเนินงานร่วมการภาคีในพื้นที่และสรุปกิจกรรมตลอดมา

วันที่ 7 กรกฎาคม 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่7 ก.ค. 66 เวลา 09.00 น. คณะทำงานพร้อมนายมะยูนัน มามะ ครูพีเลี้ยง และผู้เข้าร่วมโครงการ ณ อาคารอเนกประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมทำกิจกรรมคืนข้อมูลการดำเนินงานร่วมการภาคีในพื้นที่และสรุปกิจกรรมตลอดมา ได้นัดหมายกลุ่มเป้าหมายทั้ง 30 คน เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน และถอดบทเรียน เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายทุกคนพร้อมกัน ณ อาคารอเนกประสงค์โดยมีนายอับดุลอาซิซ โตะเดร์ ประธานกล่าวต้อนรับและชี้แจงกิจกรรมคร่าว จากนั้นนายมะยูนัน มามะ ครูพีเลี้ยงได้ทำการสรุปกิจกรรมที่ผ่านมา -บันไดผลลัพธ์1.เกิดคณะทำงานและมีความเข้าใจโครงการ ผลที่เกิดขึ้นเกิดคณะทำงานและกลุ่มเข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน แบ่งออกเป็นวงกลม เพื่อสอบถามและสรุประยะเวลาดำเนินงานแต่ละคน -ผลลัพธ์ที่2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะการดำเนินงาน ผลลัพธ์ที่เกิดกลุ่มเป้าหมาย30 คน มีความรู้เรื่องการบริหารจัดการเงินและหนี้สินในครัวเรือนจากการอบรมให้ความรู้เรื่องการบริหารจัดการเงินและหนี้สินในครัวเรือน มีการจัดทำบัญชีครัวเรือนทั้ง30คน เข้าใจการวางแผนการบริหารจัดการเงินและหนี้สินในครัวเรือน มีกลุ่มเป้าหมาย30คนมีความรู้ ความเข้าใจ มีส่วนร่วมจากการเก็บข้อมูลรายได้ รายจ่าย หนี้สิน นำมาวิเคราะห์ ประเมินผล คืนข้อมูลรายได้ รายจ่าย หนี้สิน
-ผลลัพธ์ที่3 .เกิดเครื่องมือกลไก การบริหารจัดการกลุ่ม ผลลัพธ์ที่เกิดมีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่เกิดการดำเนินงานโครงการ 1 กลุ่มตามแผนออม สมาชิกเก็บออมวันละ 1 บาท เก็บแบบรายเดือน / รายสัปดาห์ ( 10 วันครั้ง หรือเดือนละ 1 ) เดือนละ 30 บาทหรือสัปดาห์ละ10 บาทผู้เก็บเงิน คือ เหรัญญิก และมีสมุดจดบันทึกรายคน กฎระเบียบการจัดการบริหารกลุ่มออมทรัพย์ชุมชนตามแผนออม ดังนี้ สมาชิกเก็บออมวันละ 1 บาท เก็บแบบรายเดือน / รายสัปดาห์ ( 10 วันครั้ง หรือเดือนละ 1 ) เดือนละ 30 บาทผู้เก็บเงิน คือ เหรัญญิก และมีสมุดจดบันทึกรายคน กลุ่มเป้าหมาย30คนสมาชิกเก็บออมวันละ 1 บาท เก็บแบบรายเดือน ( เดือนละ ครั้ง ) เดือนละ 30 บาท และมีสมุดจดบันทึกรายคน กลุ่มเป้าหมาย30คนมีทักษะการบริหารจัดการหนี้สินในครัวเรือน โดยการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ทำเครื่องเองลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน เรียนรู้กระบวนการทำบัญชีครัวเรือน แยกคำว่าจำเป็น ต้องการทำให้สามารถลดหนี้สินลดน้อยลง จ่ายตามเวลา -ผลลัพธ์ที่4.เกิดระบบความมั่นคงทางอาหารในชุมชน ผลที่เกิดกลุ่มเป้าหมาย30คน มีรายได้ และจำหน่ายสินค้าเพิ่มขึ้นและมีความรู้เรื่องการบริหารจัดการการเงินตนเองทำให้สามารถลดหนี้สินลดน้อยลง จ่ายตามเวลา สรุปปัญหา อุปสรรคจากการดำเนินกิจกรรมตอดทั้งปี และเปิดตัวผลิตภัณฑืที่เกิดขึ้นจากกลุ่มออมทรัพธ์ และผลิตภัณฑ์โอท๊อป โดยการประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนรับรู้เกี่ยวการดำเนินงาน จากนั้นคณะทำงาน และกลุ่มเป้าทุกคนร่วมกันถอดบทเรียนจากสมาชิกกลุ่มที่ยังไม่เข้าร่วมกลุ่มออมทรัพย์ และเชิญชวนให้เข้าร่วมกลุ่มออมทรัพธ์ฯ และกำหนดเป้าหมายการพัฒนาในอนาคต โดยการกำหนดวิธีการหาช่องทางการตลาดเพื่อขายสินค้าให้เกิดรายได้ต่อไปให้กับกลุุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มแม่บ้านมีทักษะอาชีพในการแปรรูปทำผลิตภัณฑ์น้ำจิ้มได้สำเร็จ
  2. มีเครือข่ายในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เพิ่มขึ้น
  3. กลุ่มแม่มีรายได้เสริมจากการประกอบอาชีพหลักและสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของตัวเองที่ดี

 

40 0

17. จัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

วันที่ 10 กรกฎาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่10 ก.ค. 66 เวลา 09.00 น. คณะทำงานทุกคนเข้าร่วมประชุม ณ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน โดยประธาน นายอับดุลอาซิซ โต๊ะเดร์ และเลขานุการ น.ส.อีดาวาตี สาและ กล่าวเปิดการประชุมจากนั้นชี้แจงวาระการประชุมดังนี้
วาระที่ 1 เรื่อง แจ้งที่ประชุมเพื่อทราบ รายงานการประชุมครั้งที่แล้ว
วาระที่2 สรุปจากการลงพื้นที่ติดตามพร้อมประเมินผลการบริหารจัดการ สรุปผลการดำเนินงาน ถอดบทเรียน พร้อมคืนข้อมูลให้กับชุมชน และ การเงินในครัวเรือนที่ผ่านมาสรุปดังนี้ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 คน มีรายได้ เพิ่มขึ้นต่อครัวเรือนรายจ่ายในครัวลดลงจากเดิมต่อครัวเรือน หนี้สินสามารถชำระหนี้สินตามกำหนดและมีการบันทึกบัญชีครัวเรือน ร้อยละ 80% ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด มีการบันทึกบัญชีรายรับ รายจ่ายในครัวเรือน ครัวเรือนมีการออมเงินจากกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต วันละ 1 บาทจำนวน 25 คน
วาระที่ 3 ชี้แจงจะขึ้นทะเบียนสินค้าเป็นสินค้าโอท้อป ( OTOP ) และเป็นสินค้าประจำหมู่บ้าน วิสาหกิจชุมชนกลุ่มน้ำน้ำจิ้มบ้านศาลาเชือก ต.ศาลาใหม่ อ.ตากใบ จ.นราธิวาส
วาระที่4 คณะทำงานทุกคนรับบทราบ และรับรองการการประชุม
วาระอื่นๆ เสนอรายชื่อนายอารง ดอเล๊าะ และ นายมาหามะซอและ ตัวแทนคณะทำงานของกลุ่มทำน้ำจิ้มบ้านศาลาเชือกในกิจกรรมเวที่แลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานที่ห้องประชุมโรงแรมซาวท์เทิร์นแอร์พอร์ต อำเภอหาดใหญ่ เพื่อแลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานที่ผ่านมา ภายในวันที่15-16 ก.ค. 66 ทุกคนรับทราบ และเห็นด้วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการสรุปถึงคุณภาพชีวิตของผู้เข้าร่วมโครงการกับช่วงที่ได้รับผลกระทบในช่วงโควิด

 

10 0

18. เวที่แลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน

วันที่ 15 กรกฎาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่15 ก.ค. 66 เวลา 12.00 น. นายอารง ดอเล๊าะพร้อมนายมาหามะซอและ ตัวแทนคณะทำงานของกลุ่มทำน้ำจิ้มบ้านศาลาเชือกและผู้เข้าร่วมโครงการในกิจกรรมเวที่แลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานพร้อมกันที่ห้องประชุมโรงแรมซาวท์เทิร์นแอร์พอร์ต อำเภอหาดใหญ่ เพื่อแลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานที่ผ่านมาและเตรียมความพร้อมจัดแสดงผลิตภัณฑ์จากชุมจากนั้น เวลา 13.00 น.พิธีกรกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมทุกคน และเริ่มการไลฟ์สด นำเสนอสินค้าชุมชน และการดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ โดยวิทยากรเดินชมสินค้าชุมชนครบทุกบูท ประธานโครงการกล่าวชี้แจงกำหนดการกิจกรรมคร่าวๆ จากนั้น แบ่งกลุ่มผู้เข้าร่วมตามพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบโครงการ จากนั้นทำการถอดบทเรียนผลลัพธ์การดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา โดยพี่เลี้ยงสอบถามในประเด็นหัวเรื่อง ดังนี้ ลักษณะพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ และการเงิน แหล่งอาหารที่เกิดขึ้นในชุมชน ทรัพยากรที่มีในชุมชน กลุ่มอาชีพที่เกิดขึ้นในชุมชน รุปแบบสื่อที่ใช้ส่งเสริมอาชีพ จำรายได้ที่เพิ่มขึ้น จำนวนรายจ่ายที่ลดลง และการออม โดยให้ผู้เข้าร่วมเขียนในโน๊ตแล้วไปแปะที่กระดาษ จากนั้นพี่เลี้ยงทำการสรุปผลจากกระดาษโพสอิกที่ผู้เข้าร่วมไปแปะไว้ โดยการสรุปในรุปแบบภาพรวม จากนั้น พี่เลี้ยงแต่ละคนนำเสนอผลสรุปจากการถอดบทเรียนโครงการร่วมกัน ช่วงที่ 2 พิธีกรกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และร่วมรับประทานอาหารปาร์ตี้สร้างสรร วันที่ 2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมกัน ณ ห้องประชุม เวลา 09.00 น. วิทยากรได้ต้อนรับ และให้ผู้เข้าร่วมแบ่งกลุ่มถอดบทเรีบผลลัพธ์ ในประเด็นหัวข้อ การเลือกกลุ่มเป้าหมายในการสนับสนุนควรมีแนวทางอย่างไร แกนนำควรได้รับการพัมนาทักษะเรื่องอะไรบ้าง เพื่อให้ขับเคลื่อนงานได้บรรลุผลลัพธ์ การจัดการข้อมูลตามบันไดผลลัพธ์ มีวิธีการเก็บ การตรวจสอบความถูกต้อง และการเอาข้อมูลไปใช้อย่างไร การทำงานร่วมกับทีมสนับสนุนมีแนวทางอย่างไร และความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยง จากหน่วยจัดการ และภาคีระดับพื้นที่อย่างไร โดยให้ผู้เข้าร่วมเขียนในโน๊ตแล้วไปแปะที่กระดาษ และส่งตัวแทนจังหวัดเพื่อสรุปการถอดบทเรียน จากนั้นส่งมอบให้พิธีกรสันทนาการผู้เข้าร่มและเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมถามข้อสงสัย จากนั้นประธานโครงการกล่าวสรุปกิจกรรมและขอขอบคุณผู้เข้าร่วมทุกคน และกล่าวพิธีปิดกิกรรมเดินกลับปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลดำเนินงานและสรุปถอดบทเรียนที่ผ่านมา

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19 2.เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19
ตัวชี้วัด : 1.เชิงปริมาณ -จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการมี ความรู้เพิ่มขึ้น - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถทำบัญชีครัวเรือนได้ - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วม (DMHTT1 ) 2.เชิงคุณภาพ-ผู้เข้าร่วมโครงการมีการจัดทำบัญชี ครัวเรือน รายรับและรายจ่ายของตนเอง ได้ - มีการสรุปและวิเคราะห์สถานะทาง การเงินของตนเองได้
0.00

 

2 1.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการ ระบาด โควิด 19 2.เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและ รายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบ จากการระบาด โควิด 19
ตัวชี้วัด : 1.เชิงปริมาณ -จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการมี อาชีพที่สามารถเลี้ยงตัวเองได้ในช่วงการ ระบาดโควิด 19 - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการมี รายได้เพิ่มขึ้นจากการออม - จำนวน 30 คนของผู้เข้าร่วมโครงการ อยู่อย่างพอเพียง หนี้สินลดลงหรือไม่มี หนี้สิน 2.เชิงคุณภาพ คนที่ตกงานหรือถูกเลิกจ้างสามารถอยู่ได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในช่วงของการ ระบาดโควิด 19
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะทำงาน 10
ชุมชน 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19 2.เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาด โควิด 19 (2) 1.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ ด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการ ระบาด โควิด 19 2.เพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพและ รายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบ จากการระบาด โควิด 19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการและสสส. (2) จัดประชุมแกนนำ / คณะทำงาน (3 ครั้ง) (3) ประชุมเชิงปฎิบัติการและฝึกอบรม (4) กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการ สสส. (5) จัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (6) ค่าป้ายไวนิลโครงการ (7) ค่าจัดทำสมุดบันทึกครัวเรือน(รายรับ-รายจ่าย) (8) การเก็บข้อมูล - เก็บข้อมูลโครงการของกลุ่มแม่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับโครงการมากน้อยเพียงใด (9) อบรมความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงินกับสสส.หรือหน่วยจัดการระดับจังหวัด (10) จัดประชุมผู้เข้าร่วมโครงการ -เพื่อสร้างความเข้าใจของโครงการ (11) การจัดอบรมคืนข้อมูลสะท้อนปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย (12) ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบน้ำจิ้ม (13) จัดอบรมการส่งเสริมอาชีพตามความถนัดของกลุ่มเป้าหมาย(น้ำจิ้ม) (14) เวทีแลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน (15) ถอนเงินเปิดบัญชี (16) จัดอบรมช่องทางการตลาด (17) จัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (18) เวที่แลกเปลียนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน (19) อบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องของสุภาพ การออม การเงิน และอาชีพ (20) ประชุมคืนข้อมูลการดำเนินงานร่วมการภาคีในพื้นที่และสรุปกิจกรรมตลอดมา (21) จัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 (น้ำจิ้ม) บ้านศาลาเชือก

รหัสโครงการ 65-10018-10 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2022 - 31 สิงหาคม 2023

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้กับผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 (น้ำจิ้ม) บ้านศาลาเชือก จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-10018-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลอาซิซ โต๊ะเดร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด