directions_run

โครงการ บ้านฉางผลิตเครื่องแกงปลอดภัยสร้างรายได้ ใส่ใจคุณภาพชีวิตลดโรค

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ บ้านฉางผลิตเครื่องแกงปลอดภัยสร้างรายได้ ใส่ใจคุณภาพชีวิตลดโรค
ภายใต้โครงการ โครงการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิต และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้
ภายใต้องค์กร Node โควิค ภาคใต้
รหัสโครงการ 65-10018-25
วันที่อนุมัติ 9 กันยายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2565 - 31 สิงหาคม 2566
งบประมาณ 79,900.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ตำบลควนมะพร้าว
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพรประไพ สงขาว
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 089-9225073
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ ponprapai_s@hotmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นายถาวร คงศรี
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 2 บ้านฉาง ต.ควนมะพร้าว
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ย. 2565 28 ก.พ. 2566 1 ก.ย. 2565 28 ก.พ. 2566 50,000.00
2 1 มี.ค. 2566 30 มิ.ย. 2566 1 มี.ค. 2566 31 ส.ค. 2566 25,000.00
3 1 ก.ค. 2566 31 ส.ค. 2566 4,900.00
รวมงบประมาณ 79,900.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1
4.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในการดูแล สุขภาพและปลูกผักไว้บริโภค ระยะที่ 3 ปี2564 – ปัจจุบัน (23 เม.ย.65) ผู้ป่วยยืนยันทั้งหมด 846 คน กําลัง รักษา 90 คน หายป่วย 724 คน เสียชีวิต 2 คน กลุ่มเป้าหมายฉีดวัคซีน 8,093 คน เข็มที่ 1 ฉีดแล้ว 7,376 คน คิดเป็น 91.14% เข็มที่ 2 ฉีดแล้ว 7,132 คน คิดเป็น 88.13% กลุ่มเสี่ยงกักตัวครบตาม กําหนด ส่งต่อ เข้าสู่การรักษาได้ทันเวลา ผลกระทบจากโรคระบาดโควิด 19 ในช่วงแรกมีการไม่เข้าใจ มีความเห็นแตกต่าง ในที่สุดการจัดการ แบบมีส่วนร่วมสามารถบริหารจัดการฉีดวัคซีนเชิงรุก เคาะประตูบ้านชวนไปฉีดวัคซีน การค้นหาผู้สัมผัสเชิงรุก โดยวิธีตรวจ RT PCR และการตรวจโดยวิธีATK โดยเจ้าหน้าที่หรือทีมสอบสวนโรค SRRT มาจาก ผอ.รพสต. เจ้าหน้าที่ รพสต. พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขขององค์การบริหารส่วนตําบลควนมะพร้าว ทั้งนี้โดยองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกันขับเคลื่อนกับคณะทํางานของตําบล และร่วมประสานสนับสนุนงบประมาณร่วมกัน ในทุกระดับที่เกี่ยวข้อง เป็นที่มาของกิจกรรมเด่นเรื่องการสร้างการมีส่วนร่วมของตําบลควนมะพร้าว การดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อจุดเริ่ม จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(โควิด19) คณะกรรมการควบคุมโรค ตําบล คือ รพ.สต. อบต. ฝ่ายปกครอง และกลุ่ม อสม. ภาคประชาชน เป็นกลไกหลัก สร้างการทํางานแบบมีส่วน ร่วมกันทุกภาคส่วน ทํางานร่วมกัน มีเป้าหมาย การเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อในระหมู่บ้าน ระดับตําบล ของ ตําบลควนมะพร้าว โดยมีการแบ่งบทบาทการทํางานตามภารกิจลดการเกิดโรคติดต่อ กิจกรรมที่ดําเนินการ ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้ 1.เสริมสร้างความเข้มแข็งของกลไกการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ โดยการตั้งศูนย์ ประสานงานตําบลควนมะพร้าว บริหารจัดการศูนย์ตามรูปแบบที่รัฐกําหนด โดยในการปฏิบัติงาน จะทํางาน ร่วมกันระหว่าง นักปกครอง เจ้าหน้าที่ตํารวจ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม. มีการทํางานเป็น 3 กะ หมุนเวียนกันไป ซึ่งนักปกครองที่ปฏิบัติหน้าที่จะเป็นนักปกครองกํานัน ผู้ใหญ่บ้านฯลฯ ของตําบลควนมะพร้าว เป็นผู้รับผิดชอบ 2.การสื่อสารด้วยวิธีการต่างๆการรณรงค์เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจถึงแนวทางการปฏิบัติเพื่อรับมือ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โดยใช้สื่อและประกาศที่รัฐส่วนกลางจัดทําให้ ทําป้ายประชาสัมพันธ์ ประกาศ ตามหอกระจายข่าวของหมู่บ้านทั้ง 16 หมู่บ้าน รถแห่กระจายเสียง จากการสนับสนุนของ อบต.ควนมะพร้าว และการสื่อสารผ่านช่องทางกลุ่ม การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในระยะผ่อนคลายเกิดผลกระทบ ด้านพฤติเศรษฐกิจ ประชาชนใน ชุมชนจะว่างงาน ไม่มีอาชีพเสริม มีการใช้จ่ายเงินเกินตัว และประชาชนในหมู่บ้านมีการศึกษาต่ํา เป็นผู้สูงอายุ เป็นส่วนใหญ่ ประชากรมีการทําบัญชีรายรับรายจ่ายน้อย รูปแบบในการบริโภคอาหารจะเป็นการซื้ออาหารจาก ตลาดเป็นหลักในรูปแบบอาหารถุง ร้อยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด เนื่องด้วยจากสะดวกต่อการบริโภค ด้าน สิ่งแวดล้อม ภายในหมู่บ้าน มีขยะจํานวนมาก เพราะประชาชนขาดความรู้การคัดแยกขยะ มีการปุ๋ยและ สารเคมีในการทําการเกษตร ทําให้น้ําและผิวดินเสีย อากาศมีมลพิษปนเปื้อนจากการเผาขยะ ด้านสังคม ข้อบังคับของหมู่บ้านบางข้อยังไม่ชัดเจน แหล่งเงินทุนในหมู่บ้านไม่เพียงพอ ทําให้คนในหมู่บ้านไปกู้หนี้ยืมสินทั้ง ในและนอกระบบ และยังไม่มีหน่วยงานที่ส่งเสริมการออกกําลังกาย ให้คนในชุมชนอย่างจริงจัง ทําให้มีคนป่วยมี โรคประจําตัวเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ปัญหาของประชากรในพื้นที่ มีรายจ่ายมากกว่ารายได้ โดยสาเหตุมาจาก มีงานทําอย่างเดียว ประชากร มีพื้นที่บริเวณน้อย ไม่ค่อยมีการเกษตร ทางหน่วยงานไม่ค่อยเข้ามาดูแล ประชาชนชอบความสะดวก ขาด ความรู้ในการประกอบอาชีพ และการดูแลสุขภาพของตนเอง จึงเป็นเหตุให้รายจ่ายจากการดํารงชีวิตประจําวัน และรายจ่ายจากการประกอบอาชีพ ส่งผลต่อการเกิดหนี้สินในครัวเรือน เนื่องจากบางครัวเรือนใช้จ่ายฟุ่มเฟือย เกินความจําเป็น ทั้งนี้เกิดจากการที่ครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายในการดํารงชีวิตประจําวันมากกว่ารายรับที่ได้ โดยดูจาก การเก็บข้อมูลครัวเรือน 42 ครัวเรือน (1 เดือน ) พบว่าครัวเรือนมีรายได้ เพียงพอ ต่อรายจ่ายจํานวน 15 ครัวเรือน ครัวเรือนมีรายได้ มากกว่า ต่อรายจ่าย จํานวน 7 ครัวเรือน ครัวเรือนมีรายได้ น้อยกว่า ต่อ รายจ่ายจํานวน 18 ครัวเรือน

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

โครงการนี้มุ่งเน้นการพัฒนากลุ่มแกนนำ โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมในการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัย ทำให้ส่งผลดีต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน และก่อให้เกิดรายได้และเศรษฐกิจที่ดีต่อชุมชน คนในชุมชนสามารถปรับตัวและพฤติการให้สอดคล้องพร้อมทั้งรับมือกับสถานการณ์โควิด 19 ได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อสร้างและพฒั นาแกนนาํกลุ่ม การผลิต เครื่องแกงสร้างรายได้จาก วตัถุดิบในชุมชน

1.1 เกิดแกนนาํที่มีศกัยภาพจาํนวน 5 คน 1.2 เกิดเครือข่ายสมาชิกจาํนวน 25 คน 1.3 เกิดกลุ่มเครื่องแกงที่สร้างรายได้ ต่อเนื่องแก่สมาชิก

25.00
2 2 เพื่อใหก้ลุ่มเครื่องแกงเป็นกลไก ขบั เคลื่อนโดยใชข้อ้มูลจากความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพขับเคลื่อนกลุ่ม

2.1 สมาชิกกลมุ่ มีการจดัทาํบญั ชีครัวจาํนวน 30 ครัวเรือน 2.2 การรวมกลุ่มจดวสิาหกิจผลิตเครื่องแกง 1 กลุ่ม ที่มีผลผลิตอยา่ งนอ้ย 2ผลิตภณั ฑ์คือเครื่องแกง ปุ๋ย ผกั
- สมาชิกปลูกวตัถุดิบส่งกลุ่มวสิาหกิจฯใชใ้นการผลิตเครื่องแกงอยา่ งเพียงพอและเหลือจาํหน่ายเป็นรายไดบ้ ุคคล และกลุ่มวสิาหกิจ
- สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีขอ้ ตกลงการออมเงินและออมสวสัดิการเป็นกฎกติกาของบุคคลและกลุ่ม และมีการบนั ทึกบญั ชี ครัวเรือนและของกลุ่ม
- กติกาสมาชิกทุกคนมีสมุดการคดั กรองพฤติกรรมทางสุขภาพ ทาํกิจกรรมทางกายลดโรค

30.00
3 3 เพื่อสร้างช่องทางเพิ่มรายได/้ปรบพฤติกรรมสุขภาพ

-กลุ่มมีผลิตภณั ฑม์ ากกวา่ 2 ผลิตภณั ฑ์คือเครื่องแกง ปุ๋ยไสเ้ดือน และผกัพ้ืนบา้น
-กลุ่มมีช่องทางการขายมากกวา่ 2 ช่องทางช่องเพจ ไลน์เฟสบุค
-กลุ่มดาํ เนินการตามแผนกิจกรรมทางกายลดโรคตามแนวทาง 3อ๒ส และแผนติดตาม

24.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 5 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
แกนนำในพื้นที่ 5 5
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66
1 กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการ สสส.(18 ก.ย. 2565-31 ส.ค. 2566) 14,020.00                        
2 กิจกรรมประชุมสร้างความเข้าใจโครงการและกิจกรรม(18 ก.ย. 2565-18 ก.ย. 2565) 0.00                        
3 กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(18 ก.ย. 2565-31 ส.ค. 2566) 4,200.00                        
รวม 18,220.00
1 กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการ สสส. กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 4 14,020.00 4 7,700.00
18 ก.ย. 65 กิจกรรมปฐมนิเทศน์ 2 10,000.00 1,990.00
5 - 6 พ.ย. 65 อบรมความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน 0 0.00 1,690.00
11 - 12 ก.พ. 66 กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน 0 2,010.00 2,010.00
15 - 16 ก.ค. 66 เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน 2 2,010.00 2,010.00
2 กิจกรรมประชุมสร้างความเข้าใจโครงการและกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
3 กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 4,200.00 1 4,200.00
30 มิ.ย. 66 การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE1) 30 4,200.00 4,200.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 217 67,700.00 9 67,700.00
21 ก.ย. 65 ถอนเงินเปิดบัญชี 0 0.00 500.00
25 ต.ค. 65 1. ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการและกิจกรรมโดยคณะทำงาน 5 คน 30 5,300.00 4,800.00
20 ม.ค. 66 3. อบรมให้ความรู้และวิเคราะห์ความรอบรู้เรื่องการเงิน และสุขภาพของกลุ่ม 30 6,000.00 6,000.00
20 ม.ค. 66 7. แกนนำแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง 5 0.00 -
22 ก.พ. 66 2. อบรมให้ความรู้ศึกษาดูงานการผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือนและการผลิตเครื่องแกง กลุ่มวิสาหกิจบ้านหูยาน ตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 30 10,400.00 10,400.00
28 มี.ค. 66 5. กิจกรรมสนับสนุนการดำเนินงานตามแผน กิจกรรมผลิตปุ๋ยอินทรีย์ของกลุ่มและกิจกรรมปรับเปลี่ยนสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส 30 23,700.00 23,700.00
6 เม.ย. 66 ุ6. พัฒนาช่องทางการตลาดและประชาสัมพันธ์ผ่านตลาดระบบออนไลน์ 30 7,800.00 7,800.00
20 ก.ค. 66 4. กิจกรรมทำแผนการดำเนินงานโดยใช้ข้อมูลแผนปฏิบัติการเงินและแผนปรับเปลี่ยนสุขภาพ 30 8,300.00 8,300.00
31 ก.ค. 66 8. การประเมินผล เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE2) 30 4,200.00 4,200.00
5 ส.ค. 66 ค่าอินเตอร์เนตเพื่อจัดทำรายงานแกิจกรรมโครงการ 2 2,000.00 2,000.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แกนนํา 5 คนและกลุ่มวิสาหกิจฯมีความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ สามารถนํามาเป็นเครื่องมือไปขยายผล สู่ครอบครัว กลุ่มองค์กร และสู่ชุมชน แก้ปัญหาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด 19 ด้านเศรษฐกิจและด้านสุขภาพ
  2. แกนนํา 5 คนและกลุ่มวิสาหกิจฯ นําความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพ เชื่อมโยงการทํางานกับหน่วยงาน ภาคีที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาในระดับบุคคล กลุ่ม ชุมชน ได้อย่างปกติโดยใช้ทรัพยากรในพื้นที่เป็นทุนตั้งต้น
  3. เมื่อโครงการแล้วเสร็จ หรือเมื่อทุนของ สสส. แกนนํา กลุ่ม และชุมชนยังคงดําเนินงานได้อย่างต่อเนื่องจากการ ทํางานร่วมกันเป็นภาคีเครือข่ายความร่วมมือ และเชื่อมต่อสู่เป็นนโยบายท้องถิ่นต่อไป
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.ย. 2565 07:54 น.