directions_run

ฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน
ภายใต้โครงการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ ุ63001690015
วันที่อนุมัติ 1 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 31 มีนาคม 2564
งบประมาณ 108,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสหจร ชุมคช
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวจุฑาธิป ชูสง และ นายเสณี จ่าวิสูตร
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 มิ.ย. 2563 31 ต.ค. 2563 20 มิ.ย. 2563 31 ต.ค. 2563 43,200.00
2 1 พ.ย. 2563 28 ก.พ. 2564 1 พ.ย. 2563 30 ก.ย. 2564 54,000.00
3 1 มี.ค. 2564 31 มี.ค. 2564 10,800.00
รวมงบประมาณ 108,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันยางพาราเข้าครอบครองพื้นที่ทําการเกษตรอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลพื้นที่ปลูกยางพาราของสถาบันวิจัยยาง ปีพ.ศ. 2558 รายงานว่า ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางทั้งสิ้น 18,761,231 ไร่ ประกอบด้วย พื้นที่ปลูกยางของภาคใต้จํานวน 11,906,882 ไร่ รองลงมาคือ พื้นที่ปลูกยางพาราของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 3,477,303 ไร่ ภาคตะวันออกรวมกับภาคกลาง จํานวน 2,509,644 ไร่ ส่วนภาคเหนือพื้นที่ปลูกยางพาราน้อยที่สุด จํานวน 867,402 ไร่ พื้นที่ปลูกยางทั้งหมดของประเทศที่กล่าวถึง มีจํานวน พื้นที่ซึ่งเปิดกรีดไปแล้ว จํานวนรวมทั้งสิ้น 10,896,957 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 85 ของพื้นที่ปลูกยางทั้งหมด ในจํานวนนี้ให้ผลผลิตเฉลี่ย 282 กิโลกรัม/ไร่/ปี  อย่างไรก็ตามพื้นที่ปลูกยางของประเทศไทยยังมีอัตราที่ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องมาจากสภาวะวิกฤติน้ำมันเชื้อเพลิง มีส่วนช่วยสร้างโอกาสให้กับยางธรรมชาติขึ้นมาอยู่เหนือยางเทียม อย่างไม่คาดคิด ความต้องการยางธรรมชาติในเชิงอุตสาหกรรมจึงสูงขึ้น ช่วยฉุดให้ราคายางพาราสูงตาม ส่งผลให้พื้นที่ปลูกยางพารา ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากป่าบนพื้นที่สูงจะถูกแทนที่ด้วย สวนยางพาราแล้ว บริเวณที่ราบลุ่มที่เคยเป็นบ้านของพืชไร่ วันนี้ยังถูกแทนที่ด้วยยางพาราจํานวนไม่น้อย ทั้งๆ ที่ผลผลิตเฉลี่ยตอไรจะต่ำมากก็ตาม เมื่อรวมพื้นที่ปลูกยางพาราของทั้งจังหวัดสงขลา จังหวัด พัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช เขาดวยกันพบวามีพื้นที่ปลูกยาง ทั้งสิ้นประมาณ 3,430,422 ไร ในจํานวนพื้นที่นี้พบวามีพื้นที่ปาอนุรักษรวมอยูดวยจํานวนหนึ่ง จากขอมูลภาพถายทางอากาศเมื่อป พ.ศ. 2545 ซึ่งกรมทรัพยากรปาไมลุมน้ำทะเลสาบสงขลา ไดรายงาน โดยอางจากรายงานโครงการจัดทําแผนแมบทการพัฒนาลุมน้ำทะเลสาบสงขลา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรและสิ่ง - แวดลอม  ปพ.ศ. 2548 พบวาพื้นที่ปาอนุรักษไดถูกบุกรุกประมาณ 23,618 ตารางกิโลเมตร ซึ่งพื้นที่เหลานี้สวนใหญเปนพื้นที่ในเขตลุมน้ำทะเลสาบสงขลา ที่ครอบคลุมบางสวนของจังหวัดสงขลา จังหวัด พัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช การรุกปาเพื่อเปลี่ยนเปนพื้นที่การเกษตร สืบเนื่องจากพื้นที่เดิม ดินเกิดสภาวะเสื่อมโทรมสงผลใหผลผลิตลดจํานวนลง การแกปญหาของเกษตรกรวิธีที่งายที่สุดก็คือการขยายพื้นที่ปลูก เพื่อให ผลิตตอไรคงที่หรือเพิ่มมากขึ้น แตดวยไมมีพื้นที่วางเปลาเหลืออยู เกษตรกรจึงเลือกที่จะรุกเขาไปทําแปลงเกษตรในพื้นที่อนุรักษซึ่งสวนใหญอยูในบริเวณพื้นที่ตนน้ำ แตดวยถูกปลูกฝงมาใหยึดติดกับระบบเกษตรกระแสหลักที่ยึดเอาเทคโนโลยีเปนตัวตั้ง เกษตรกรจึงทําเกษตร ในระบบการปลูกพืชเชิงเดี่ยว สงผลใหสวนยางพาราทั้งหมดในทุกพื้นที่ เปนสวนยางพาราเชิงเดี่ยวทั้งสิ้น ในมิติที่เปนประโยชนของการจัดการ เกษตรกรรมระบบนี้เกษตรกรจะไดคาตอบแทนสูง แตจะชักนําใหตนทุนสูงตามไปดวย ทั้งนี้เพราะตองวิ่งตามเทคโนโลยีไปตลอดไม สิ้นสุด ในทางกลับกันหากพิจารณาในมิติความยั่งยืนของการจัดการเชิงเดี่ยวที่ปลูกในที่พื้นที่เดิมตอเนื่องกันประมาณ 3 รอบ ใชเวลา ประมาณ 60 ปหรือมากกวา จะพบวาอัตราการเจริญเติบโตของตน ยางพาราจะคอยๆ ลดขนาดลงตามลําดับ สงผลใหตนยางพารามี เปลือกบางลง และใหน้ํายางนอย เนื่องจากดินในแปลงปลูกพืช เชิงเดี่ยวเสื่อมคุณภาพลง ดวยเพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของดิน ทั้งทางดานกายภาพ เคมีและชีววิทยา ที่สืบเนื่องมาจากการ ใชปุยเคมีและสารเคมีในแปลงปลูกยางพาราเปนเวลายาวนาน ส่งผลกระทบก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของดิน ทําใหเศษซากดังกลาว ตกคางอยูในดินยาวนานกวาที่ควรจะเปน ขณะเดียวกันกลไกดังกลาว มีสวนสนับสนุนใหผิวอนุภาคดินมีไฮโดรเจนไอออนจับเกาะในปริมาณ มากขึ้น จึงไมใชเรื่องแปลกที่ดินจะคอยๆพัฒนาไปสูความเปนกรดขึ้น อยางตอเนื่อง การเสื่อมของคุณภาพดินยังสรางผลกระทบกับวงจรธาตุ อาหารของระบบนิเวศทั้งระบบ เชน วงจรของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและธาตุอาหารอื่น วงจรธาตุอาหารดังกลาวจะถูกตัดตอน ใหขาดเปนชวงๆ ระบบนิเวศของดินในพื้นที่ปลูกยางพาราจึงขับเคลื่อน วงจรธาตุอาหารลดประสิทธิภาพลงอยางตอเนื่อง สงผลใหขาดธาตุ อาหารจําพวกไนโตรเจนในดินลดจํานวนลง    สวนฟอสฟอรัสแมจะยังมี อยูก็มิอาจใชประโยชนไดเนื่องจากไมไดอยูในรูปของฟอสเฟตที่ละลายน้ำไดดวยเพราะดินเปนกรด ดินที่ขาดธาตุอาหารหรือมีธาตุอาหารแตอยูในรูปที่ใช ประโยชนไมได จัดเปนดินที่เสื่อมความอุดมสมบูรณพืชที่อาศัยอยูใน ดินลักษณะดังกลาวจึงเติบโตไดนอยและใหผลผลิตต่ำ ทางออกของ เกษตรกรอยางงาย ก็คือการนําเขาธาตุอาหารดังกลาวสูดินมากขึ้นตามลําดับ แตอยางไรก็ตามแมวาจะเพิ่มปุยเคมีลงไปเทาใดก็หาเปน ประโยชนไม เพราะดินที่เปนกรดทําใหธาตุอาหารฟอสฟอรัสไมแตกตัว เปนไอออน โดยจะอยูในรูปสารประกอบของโลหะเปนสวนใหญ รากพืชจึงไมสามารถนําเขาเพื่อใชประโยชนได ดังนั้นแมวาเกษตรกรจะเพิ่มปุยเคมีลงไปในดินมาก สักเพียงใด ก็จะไมเกิดประโยชนกับตนยางพารา    ดวยเพราะไม สามารถนําธาตุอาหารชนิดนี้เขาสูรากเพื่อสงตอไปยังสวนตางๆของ เนื้อเยื่อที่ไดรับคําสั่งมา สุดทายก็จะเกิดสภาวะขาดแคลนธาตุอาหาร เมื่อหันกลับมาพิจารณามิติของการปลูกยางพาราเชิง บูรณาการ ที่อาจเปนการใชพืชหลายชนิดปลูกแซม ป่าร่วมยาง หรืออาจพัฒนาให ซับซอนสูการสรางสังคมพืช จะพบวาวิธีนี้เปนวิธีที่สอดคลองกับ ธรรมชาติเนื่องจากมีสวนชวยใหโครงสรางของดิน ทั้งทางกายภาพ เคมีและชีววิทยา ไดมีการพัฒนาตนเองไปสูการสรางสัดสวนขององคประกอบของโครงสรางของดินใหเหมาะสม เชน หากดินมีสภาพ ทางกายภาพที่มีชองวางระหวางเม็ดดินติดตอเชื่อมโยงถึงกันทั้งหมด ก็จะชวยใหอากาศแพรผานลงไปในดินไดลึกมากขึ้น ขณะเดียวกันชวย ใหคารบอนไดออกไซดที่ถูกกักเก็บสามารถแพรออกจากดินสู บรรยากาศไดไมยุงยาก รากพืชก็จะทําหนาที่ไดสมบูรณขึ้น ทุกครั้งที่ฝนตก หากดินมีชองวางระหวาง อนุภาคดินติดตอ เชื่อมโยงเปนเครือขายถึงกันอยางเปนระบบ การระบายน้ำลงสูดินชั้น ลางจะกระทําไดเปยมประสิทธิภาพ จะไมมีน้ำถูกกักขังอยูระหวางชองวางอนุภาคดิน สงผลใหรากพืชไมเครียดเพราะขาดออกซิเจน สําหรับหายใจ เมื่อดินสามารถกักอากาศเอาไวในชองวางระหวาง อนุภาคดินไดมาก ก็จะมีไนโตรเจนสําหรับให้  จุลินทรียตรึงเพื่อ เปลี่ยนเปนไนเตรต ขณะเดียวกันก็มีปริมาณออกซิเจนเพียงพอสําหรับ ใหรากพืช สัตวในดิน และจุลินทรียใชในการหายใจเพื่อสรางพลังงาน หากการสรางพลังงานไมติดขัด การขับเคลื่อนวิถีภายในระบบชีวิตของ แตละสรรพชีวิตก็จะสะดวกและคลองตัว สงผลใหสภาวะแวดลอมของ ดินดีขึ้น สภาวะเชนวานี้จะสนับสนุนใหเกิดการชักนําใหสรรพชีวิตอื่นๆ ในที่อยูอาศัยอื่น ไดอพยพเขามามากขึ้นตามลําดับ หากเปนเชนนี้ไดก็ จะชวยใหดินพัฒนาไปสูสุขภาวะอยางตอเนื่อง ในธรรมชาติพัฒนาการ ของสังคมพืชไดใ ห ความสําคัญ กับความ หลากหลายของพันธุกรรม ทั้งพืช สัตวและจุลินทรีย ไดมีสวนรวมในการทําหนาที่ อ ยางเปนระบบ กรอบ ความคิด ดังกลาวมีสวน สนับสนุนใหเครื่องจักรมีชีวิต ในดินแตละภาคสวนไดทําหน้าที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนวงจรธาตุอาหาร ใหเคลื่อนตัวไดเร็วขึ้น และขยายเครือขายสูวงกวางมากขึ้น ทําใหมีปุยธรรมชาติคืนกลับสูดิน เพียงพอสําหรับการเฉลี่ยและแบงปนกัน ผลลัพธก็คือความแข็งแรง ของระบบนิเวศที่จะทยอยคืนกลับมาอยางชาๆ แตมั่นคง สุดทาย ระบบเกษตรเชนวานี้จะกาวยางสูมิติของความยั่งยืน หากเราสรางกรอบคิดการปลูกยางพารา โดยอาศัยหลักการ และเหตุผลดังกลาวขางตน ก็จะมี สวนชวยใหสังคมพืชปายางพารา ไดปรับตัวจากความเปราะบางสูความแข็งแรงของระบบ แมวาจะมี การคุกคามที่ทําใหเกิดภาวะเครียด จากตัวแปรใดๆ ก็ตาม สรรพชีวิต ก็สามารถปรับตัวโดยอาศัยกลไกการปองกันตัวเอง ชวยแกปญหา ทั้ง การแกปญหาเฉพาะสวนตัวหรือการแกปญหาแบบมีสวนรวม เชน จุลินทรียกลุมหนึ่งอาจชวยกันแยงชิงอาหาร หรือตัวรับอิเล็กตรอน ของจุลินทรียกอโรค ทําใหจุลินทรียกอโรคขาดอาหาร หรือพลังงาน สุดทายจุลินทรียกอโรคจะคอยๆ ลดจํานวนประชากรลงตามลําดับ อยางตอเนื่อง และหายไปในที่สุดโดยเกษตรกรไมตองพึ่งพาสารเคมี ที่เปนพิษแตอยางใด สังคมพืชสวนยางพารา มองดูก็คลายกับสังคมพืชใน ปาดิบชื้น เพียงแตมีจํานวน เรือนยอดของพืชเสมือนรม ขนาดและรูปแบบที่ซอน เหลื่อมในแนวดิ่งจํานวนนอย กวา แตจํานวนที่นอยกวานี้ก็ สามารถทําหนาที่ชวยดูดซับ และสะทอนรังสีอัลตราไวโอเลตไมใหกระทบกับประชากร ของจุลินทรียโดยตรง ทั้งนี้เพื่อใหเครื่องจักรที่มีชีวิตเหลานี้ไดทําหนาที่ ผลิตอินทรียวัตถุ และชวยคืนกลับธาตุอาหารใหกับดินผานกลไกของ การยอยสลายเพื่อสงตอใหกับพืช ทํานองเดียวกันธรรมชาติยังได ออกแบบใหโปรโตซัว คอยทําหนาที่ควบคุมประชากรของแบคทีเรีย ไมใหเพิ่มจํานวนเร็วมากเกินไป ทั้งนี้เพื่อความสอดคลองกับปริมาณใบ พืชที่รวงหลน รวมทั้งเศษซากพืชที่มีจํานวนสอดคลองกับประชากร ของสัตวกินซาก

ขอมูลที่กลาวมาขางตนทั้งหมด ลวนบงชี้ใหเห็นวาระบบ เกษตรเชิงเดี่ยวในบริเวณพื้นที่ปาตนน้ำ นาจะเปนจุดเริ่มตนของ ประเด็นปญหาหลายๆ ประเด็นที่สัมพันธและเชื่อมโยงกันอยางเปน ระบบ จากตนน้ำสูปลายน้ำ และรายทาง กอใหเกิดผลกระทบกับ สรรพชีวิตที่เปนสวนประกอบของโครงสรางระบบนิเวศ ภายใตระบบ ธรรมชาติที่ซับซอน หากประสงคจะแกปญหาดังกลาวจะตองมองให ครบทุกมิติหลังจากนั้นจึงเริ่มตนแกปญหาแบบมีสวนรวมโดยเริ่มที่ตนน้ำ แลวเชื่อมโยงสูกลางน้ำและปลายน้ำอยางเปนระบบ ถึงจะทํา ใหทุกขของสรรพสิ่งของลุมน้ําคอยๆ คลี่คลายลงอยางมีพัฒนาการ
ดังนั้นในการขับเคลื่อนส่งเสริมฟื้นชีวิตคืนเศรษฐกิจชาวสวนยางพัทลุงด้วยกระบวนการพัฒนาสวนยางเป็นพื้นที่พืชร่วมยาง ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน เกิดเครือข่ายป่าร่วมยางยั่งยืน สมาชิกในเครือข่ายได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลกระทบของยางเชิงเดี่ยวและการใช้สารเคมีที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ทำให้มีชาวสวนยางจำนวน 54 ครอบครัว ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบป่ายางยั่งยืน มีการปลูกพืชแซมในสวนยาง โดยในการขับเคลื่อนงานนั้นการดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง ได้มีกลไกขับเคลื่อน “คณะทำงานป่าร่วมยาง” มีคณะทำงานจำนวน 20 คน มีแกนนำหลักในการขับเคลื่อนและการบริหารจัดการจำนวน 6 คน ที่ได้มีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมทำ และสามารถวิเคราะห์แก้ปัญหาได้ ได้มีการแบ่งบทบาทการทำงาน และรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย มีกติกาข้อตกลง ได้ทำตามข้อตกลงและสมาชิกในเครือข่ายยอมรับและเข้าร่วม สำหรับแกนนำบางส่วนใหม่กระบวนการทำงานเป็นทีมยังขาดทักษะความชำนาญในเรื่องการบริหารจัดการและการขับเคลื่อนงานแบบมีส่วนร่วม การทำงานได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจากภาคีความร่วมมือ เนื่องได้มีกระบวนการร่วมในกิจกรรม และแปลงรูปธรรมต้นแบบทำให้ได้รับความยอมรับ และเห็นความตั้งใจร่วมแรงร่วมใจของเครือข่ายฯ เช่น เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ธกส. สปก.พัทลุง
เกิดวิชาต้องไม่พาตาย ถ่ายทอดความรู้ของชุมชนสู่คนรุ่นใหม่ มีเยาวชนคนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ ในการเพาะกล้าไม้ การขยายพันธุ์พืชที่เหมาะสมกับพืชแต่ละชนิด ที่สามารถขยายพันธุ์พืชสำหรับเตรียมปลูกร่วมในป่าร่วมยาง เกิดธนาคารพันธุ์พืช มีโรงเรือนเพาะและขยายพันธุ์พืชจำนวน 16 โรง มีระบบการกระจายแบ่งปันให้กับสมาชิก และมีรายได้จากการจำหน่ายพันธุ์กล้าไม้ให้กับคนที่สนใจเพิ่มความหลายหลายในแปลง ส่งผลให้ธนาคารพันธุ์พืชมีความเติบโต และมีพันธุ์กล้าไม้ที่เหมาะสมในการปลูกรวมในสวนยางแต่ละระยะจำนวน 30 ชนิด นอกจากนี้ผลผลิตในแปลงที่ปลูก หรือที่เว้นไว้ในส่วนยางมีระบบการรวบรวมและจัดการกระจายผลผลิต และบริโภคในครัวเรือน มีการเพิ่มมูลค่านำพืชใช้ประโยชน์อาหาร ใช้สอย ไม้ประดับ เพิ่มรายได้ให้กับชาวสวนยาง ซึ่งเฉลี่ยมีรายได้เพิ่มขึ้นเดือนละ 1,000 บาท มีระบบตลาด ระบบร้านค้าชุมชน ศูนย์เรียนรู้พันธุกรรมพืชตำบลลำสินธุ ซึงจากการดำเนินการนั้น ทางกลุ่มวิสาหกิจชุมชนคนเกษตร ผลผลิตที่นำมานั้นยังสร้างคุณค่าและเพิ่มมูลค่าพืชร่วมในสวนยางนั้นยังมีน้อย
ช่องว่างในกระบวนการดำเนินงานในการจัดการกระบวนการขับเคลื่อนของกลไกเครือข่ายที่สามารถดำเนินการขับเคลื่อนงานได้ คณะทำงานร้อยกว่า 50 ของคณะทำงานมีความตั้งใจและสามารถขับเคลื่อนงานได้ แต่มีร้อยละ 50 นั้นขาดทักษะความชำนาญในการบริหารจัดการและขับเคลื่อนงาน หรือบางคนมีการแบ่งเวลาไม่เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต มีการปรับเปลี่ยน
มีกระบวนการทำซ้ำเพื่อเติมส่วนช่องว่างของโมเดลป่าร่วมยางยังยืนที่ยังไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะในการเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์ยังไม่ครบถ้วน และการวิเคราะห์ข้อมูลยังไม่ชัดเจน และทดสอบเพิ่มความมั่นใจโมเดล ในการขยายพื้นที่ป่าร่วมยางยั่งยืนคืนชีวิตชาวสวนยางพัทลุง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาวะ
ด้วยเหตุนี้ กลุ่มวิถีชุมชนคนเกษตรร่วมกับกลุ่มเครือข่ายคนอินทรีย์วิถีเมืองลุง จึงได้จัดทำโครงการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน เพื่อปรับกระบวนทัศน์ในการทำสวนยางพาราของคนเมืองลุงให้เปลี่ยนจากระบบพืชเชิงเดี่ยวไปสู่ระบบพืชร่วมยางขึ้น รวมถึงสร้างและพัฒนากลไกเครือข่ายภาคประชาชน เกษตรกรคนเล็กคนน้อยในชุมชนพัทลุง ให้รู้และตระหนักถึงการพิษภัยของการใช้สารเคมีทางการเกษตร เพื่อยกระดับเป็นโมเดลการจัดการป่าร่วมยางยั่งยืน เป็นแนวทางหนึ่งที่นำไปสู่เมืองโดยมีเป้าหมายสำคัญในการร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัดของภาคประชาชนในการสร้างพัทลุงให้เป็นเมืองสีเขียวเกษตรกรชาวสวนยางมีรายได้ที่มั่นคง และมีความมั่นคงทางด้านอาหาร
เพื่อให้โมเดลป่าร่วมยางยั่งยืน นำไปสู่การขยายผลต่อไปได้ ในปีที่ 2 มีแนวทางในการขับเคลื่อนป่าร่วมยางเพื่อมีปรับเปลี่ยนของชาวสวนยางเข้าสู่ระบบป่าสวนยางยังยืนที่เหมาะสมกับพื้นที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น กระบวนการปลูก การจัดจัดการผลผลิตเชื่อมร้อยแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค มีกระบวนการพัฒนากลไกขับเคลื่อนและพัฒนาศักยภาพแกนนำให้สามารถขับเคลื่อนงานมีคณะทำงานที่อย่างเข้มแข็ง ร่วมคิด ร่วมวิเคราะห์ ประเมินการดำเนินงาน แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม และขับเคลื่อนงานให้บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้  พัฒนากลไกเครือข่ายให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบ่งปันพันธุ์พืช ผลผลิต ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน กระบวนการในการยกระดับพัฒนาระบบตลาด ตลาดนัดชุมชน แบ่งปันพืชผัก อาหารปลอดภัย งานจักสาน ซึ่งใช้วัสดุจากป่าร่วมยาง และพัฒนาระบบตลาดออนไลน์ มีกระบวนการเพิ่มเติมความรู้ในการจัดการและบรรจุ การขนส่งที่มีคุณภาพที่ดี ส่งเสริมการนำผลผลิตจากป่าร่วมยางสร้างรายได้ เสริมแรงให้ชาวสวนยางปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบป่ายางยังยืน สนับสนุนครัวเรือนอยางน้อยง 50 ครัวเรือนในการทำป่าร่วมยางเพิ่มพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุง และถอดบทเรียน โมเดลคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยระบบป่าร่วมยางยั่งยืน

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้กลไกขับเคลื่อนป่าร่วมยางได้อย่างเข้มแข็ง
  1. มีกลไกคณะทำงานอย่างน้อย 15 คน ที่สามารถขับเคลื่อนได้อย่างต่อเนื่อง มีการแบ่งบทบาท ความร่วมคิด ร่วมทำ วิเคราะห์ปัญหาทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับการยอมรับ
  2. เครือข่ายอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชในป่ายางอย่างน้อย 1 เครือข่าย  ขับเคลื่อนป่าร่วมยางมีการขยายไปสู่ชาวสวนยาง
15.00
2 2. เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ระบบป่าร่วมยางครบวงจร

1.ชาวสวนยางมีความรู้และความตระหนักความสำคัญของป่าร่วมยาง 2. เกิดครัวเรือนปรับเปลี่ยนการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียวสู่พืชร่วมยางที่มีพืชอย่างน้อย 5 ประเภทไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน พื้นที่อย่างน้อย  300 ไร่ 3. มีระบบการกระจายพืชผักและผลผลิตที่ได้จากป่าร่วมยาง  มีตลาดทางเลือกจำนวน 2 ตลาด
4.มีแผนการแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิตในระดับชุมชนและนอกชุมชนเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับป่าร่วมยาง พร้อมขับเคลื่อนแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิต

30.00
3 3. มีป่าร่วมยางยั่งยืนเป็นพื้นที่ผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น
  1. เกิดพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุงไม่น้อยกว่า 300 ไร่
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้จากการสร้างพื้นที่ป่าร่วมยางอย่างน้อย 1,000 บาทต่อไร่ต่อเดือน
300.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 602 108,000.00 26 104,444.00
20 มิ.ย. 63 ปฐมนิเทศผู้รับทุนโครงการ NFSจังหวัดพัทลุง 3 5,000.00 208.00
25 มิ.ย. 63 1 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 20 8,500.00 1,600.00
2 ก.ค. 63 2 เวทีพัฒนาศักยภาพแกนนำ 30 4,500.00 4,500.00
15 ก.ค. 63 7 สนับสนุนเกษตรกรปลูกพืชร่วมยาง และการขยายลดใช้สารเคมีในสวนยาง 35 16,550.00 16,550.00
10 ส.ค. 63 กิจกรรมที่ 5 เวทีสาธารณะเพื่อปรับกระบวนการสวนยางสู่ป่ายาง 80 13,700.00 13,700.00
25 ก.ย. 63 กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเครือข่ายป่าร่วมยาง ครั้งที่ 2 20 0.00 1,600.00
7 ต.ค. 63 เวทีเชื่อมร้อยเครือข่าย 4 0.00 208.00
15 ต.ค. 63 กิจกรรมที่ 3 เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 25 3,200.00 3,200.00
25 ต.ค. 63 กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 20 0.00 2,100.00
14 พ.ย. 63 ปิดงวดโครงการงวดที่ 1 3 0.00 328.00
18 พ.ย. 63 กิจกรรมที่ 4 เวทีเชื่อมร้อยเครือข่ายคนป่ายาง 50 9,000.00 9,000.00
25 พ.ย. 63 กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเครือข่ายป่าร่วมยาง ครั้งที่ 4 20 0.00 1,600.00
26 พ.ย. 63 จัดทำป้ายเขตปลอดเหล้าบุหรี่ 1 1,000.00 1,000.00
2 ธ.ค. 63 กิจกรรมที 9 พัฒนายกระดับผลผลิตเป็นผลิตภัณฑ์/เมนูอาหารปลอดภัย ครั้งที่ 1 20 9,700.00 5,600.00
10 ธ.ค. 63 กิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมการจัดตั้งโรงเรียนใต้โคนยางกระจายตามภูมิเวศเมืองลุง 30 11,400.00 11,400.00
20 ธ.ค. 63 กิจกรรมที่ 3 เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 2 25 3,200.00 3,200.00
21 ธ.ค. 63 ค่าอินเตอร์เน็ด 2 1,000.00 1,000.00
15 ม.ค. 64 กิจกรรมที่ 9 พัฒนายกระดับผลผลิตเป็นผลิตภัณฑ์/เมนูอาหารปลอดภัย ครั้งที่ 2 20 0.00 4,100.00
5 ก.พ. 64 กิจกรรมที่ 10 ส่งเสริมการกระจายผลผลิตจากเครือข่ายคนป่ายางสู่ชุมชน 50 10,000.00 10,000.00
9 ก.พ. 64 จัดทำนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ 5 1,000.00 1,000.00
25 ก.พ. 64 กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเครือข่ายป่าร่วมยาง ครั้งที่ 5 20 0.00 1,600.00
20 มี.ค. 64 เวทีประเมินผลการเรียนรู้เพื่อการพัฒนา AREร่วมหน่วยจัดการฯ 4 0.00 300.00
25 พ.ค. 64 กิจกรรมที่ 8 ขับเคลื่อนธนาคารพันธุ์พืชพืชพื้นถิ่น 50 1,750.00 1,750.00
25 มิ.ย. 64 กิจกรรมที่ 11 เวทีสรุปผลการดำเนินโครงการ 50 8,500.00 8,500.00
12 ก.ย. 64 เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาARE ร่วมหน่วยจัดการฯ 15 0.00 300.00
30 ก.ย. 64 ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 0 0.00 100.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เมื่อโครงการแล้วเสร็จ หรือเมื่อทุนของ สสส. หมดลง จะมีการดำเนินการต่อเนื่องหรือไม่ อย่างไร
    โครงการแล้วเสร็จหรือเมื่อทุนของ สสส. จะมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง จากการดำเนินงานของโครงการนี้เสริมให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการทำงานให้มีประสิทธิภาพ มีการรวมกลุ่มหนุนเสริมการปรับเปลี่ยน มีการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตของเกษตรกรชาวสวนยางมีต้นแบบ มีรูปธรรมพืชร่วมยางชัดเจนและสร้างรายได้ ลดต้นทุนการผลิต กระบวนการผลิตไม่ใช้สารเคมี มีความมั่นคงทางด้านอาหาร สิ่งแวดล้อมดีขึ้น คืนระบบนิเวศน์ให้กับชุมชน จากต้นแบบดังกล่าวเป็นตัวอย่างในการขยายผลต่อไป
2.ระบุวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการ และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการนี้อย่างไร     กลไกโครงสร้างเครือข่ายป่าร่วมยางยั่งยืนเกิดขึ้น เช่น โรงเรียนใต้โคนยาง ธนาคารปุ๋ยหมัก ธนาคารพันธุ์พืช ตลาดสีเขียว เป็นแหล่งสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่สามารถขยายแนวคิดด้วยการสร้างความรู้ความตระหนักให้กับเกษตรกรในชุมชน และผู้สนใจเรียนรู้และปรับเปลี่ยนมาปลูกพืชร่วมยางที่สอดคล้องกับภูมินิเวศน์ และมีกลไกสนับสนุนเกิดความมั่นคง กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เชื่อมร้อยเครือข่าย และมีกลไกการติดตามหนุนเสริมของเครือข่ายคนอินทรีย์วิถีเมืองลุง และสามารถนำโมเดลเป็นต้นแบบ ประสานความร่วมมือส่งต่อให้กับจังหวัด ใช้ในการขับเคลื่อนเพื่อตอบยุทธศาสตร์เพื่อสุขภาวะ ที่จะนำไปสู่เมืองลุงสีเขียว คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 2563 13:50 น.